กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เสมาใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

อบรมให้

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เสมาใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็นเด็กและเยาวชน (อายุไม่เกิน 25 ปี) ทั้งดื่มประจำและครั้งคราวในชุมชน(ร้อยละ)

 

15.20
2 อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 25 ปี ขึ้นไป) ทั้งดื่มประจำและครั้งคราวในชุมชน (ร้อยละ)

 

31.57
3 อัตราการเกิดนักดื่มรายใหม่ในระดับเยาวชน หรือ กลุ่มสตรี (ร้อยละ)

 

30.00
4 จำนวนผู้ดื่มปัจจุบันทั้งดื่มประจำและครั้งคราว ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(คน)

 

246.00
5 อัตราการเข้าถึงการบริการคัดกรอง และการบำบัดรักษาของผู้ที่มีปัญหาจากสุรา(ร้อยละ)

 

10.00
6 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาบริโภค (บาท)

 

100.00
7 จำนวนของเกิดเหตุการณ์ที่ผู้อื่นได้รับผลกระทบจากผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือ ความมึนเมา (อุบัติเหตุ การทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย การคุกคามทางเพศ) ครั้ง /ประเภทเหตุการณ์

 

5.00
8 จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (1) การจำหน่ายเป็นเวลา ตั้งแต่เวลา 11.00.-14.00 น. และตั้งแต่เวลา 17.00-24.00 น. (2) ไม่ขายให้ผู้ซื้อที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี (3) ไม่ขายในศาสนสถาน สถานพยาบาล รอบสถานศึกษา ร้านขายยา และสถา

 

2.00
9 ยอดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (ในช่วงปกติ และในช่วงเทศกาล) (บาท)

 

5,000.00
10 จำนวนอาสาสมัคร คนทำงาน โดยรวมของเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (คน)

 

10.00
11 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร (คน)

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็นเด็กและเยาวชน (อายุไม่เกิน 25 ปี) ทั้งดื่มประจำและครั้งคราวในชุมชน

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็นเด็กและเยาวชน (อายุไม่เกิน 25 ปี) ทั้งดื่มประจำและครั้งคราวในชุมชน ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

15.20 10.00
2 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 25 ปี ขึ้นไป) ทั้งดื่มประจำและครั้งคราวในชุมชน

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 25 ปี ขึ้นไป) ทั้งดื่มประจำและครั้งคราวในชุมชน ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

31.57 10.00
3 เพื่อลดอัตราการเกิดนักดื่มรายใหม่ในระดับเยาวชน หรือ กลุ่มสตรี

อัตราการเกิดนักดื่มรายใหม่ในระดับเยาวชน หรือ กลุ่มสตรี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

30.00 10.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งประเภทดื่มประจำและครั้งคราว

ผู้ดื่มปัจจุบันทั้งดื่มประจำและครั้งคราวที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น (คน)

246.00 300.00
5 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงการบริการคัดกรอง และการบำบัดรักษาของผู้ที่มีปัญหาจากสุรา

อัตราการเข้าถึงการบริการคัดกรอง และการบำบัดรักษาของผู้ที่มีปัญหาจากสุรา เพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

10.00 50.00
6 เพื่อลดค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาบริโภค

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาบริโภค ลดลงเหลือ (บาท)

100.00 20.00
7 เพื่อลดจำนวนของเกิดเหตุการณ์ที่ผู้อื่นได้รับผลกระทบจากผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือ ความมึนเมา (อุบัติเหตุ การทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย การคุกคามทางเพศ)

การเกิดเหตุการณ์ที่ผู้อื่นได้รับผลกระทบจากผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือ ความมึนเมา (อุบัติเหตุ การทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย การคุกคามทางเพศ)
มีจำนวนลดลงเหลือ(ครั้ง/ประเภทเหตุการณ์)

5.00 0.00
8 เพื่อเพิ่มการปฏิบัติตามกฎหมายของร้านค้าชุมชนที่จำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (1) การจำหน่ายเป็นเวลา ตั้งแต่เวลา 11.00.-14.00 น. และตั้งแต่เวลา 17.00-24.00 น. (2) ไม่ขายให้ผู้ซื้อที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี (3) ไม่ขายในศาสนสถาน สถานพยาบาล รอบสถานศึกษา ร้านขายยา และสถานที่ราชการ

ร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

2.00 15.00
9 เพื่อลดยอดขายเฉลี่ยต่อเดือนของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (ในช่วงปกติ และในช่วงเทศกาล)

ยอดขายเฉลี่ยต่อเดือนของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (ในช่วงปกติ และในช่วงเทศกาล)
ลดลงเหลือ(บาท)

5000.00 500.00
10 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัคร คนทำงาน โดยรวมของเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

อาสาสมัคร คนทำงาน โดยรวมของเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น(คน)

10.00 55.00
11 ผู้ป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ปัญหาจิต-ประสาท ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร มีจำนวนลดลงเหลือ(คน)

 

5.00
12 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ปัญหาจิต-ประสาท ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร

ผู้ป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ปัญหาจิต-ประสาท ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร
มีจำนวนลดลงเหลือ(คน)

10.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 01/01/2018

กำหนดเสร็จ : 28/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สร้าง ทีม “งด ลด เลิกเมา เพิ่มสุข”

ชื่อกิจกรรม
สร้าง ทีม “งด ลด เลิกเมา เพิ่มสุข”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมคณะทำงานกำหนดเเนวทางการจัดกิจกรรมในพื้นที่ชุมชน โดยมีผู้ร่วมทีมคือ ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้นำหมู่บ้าน และจิตอาสาภายในท้องถิ่น 2.กำหนดการจัดกิจกรรมต่างๆ ในการดำเนินโครงการ  

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 2 สร้างสรรค์พื้นที่ปลอดเหล้า ลดพื้นที่เสี่ยงเพิ่มพื้นที่สุข

ชื่อกิจกรรม
สร้างสรรค์พื้นที่ปลอดเหล้า ลดพื้นที่เสี่ยงเพิ่มพื้นที่สุข
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. กำหนดให้มี การรณรงค์ ลดพื้นที่เสี่ยงเพิ่มพื้นที่สุข,งานศพปลอดเหล้า,งานบุญปลอดเหล้า,งดเหล้าเข้าพรรษา
  2. จัดตั้งจุดบริการประชาชนในช่วงเทศกาลต่าง ๆกำหนดจุดพักรถ ได้แก่ ด้านครอบครัว ด้านชุมชน ด่านอปพร.
  3. กำหนดพื้นที่เทศกาลปลอดเหล้า งานศพงานบุญประเพณีปลอดเหล้า ร้านค้าและชุมชนปลอดเหล้า
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 3 เสริมสร้างถนนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ

ชื่อกิจกรรม
เสริมสร้างถนนปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.มีการแก้ ปรับปรุงจุดเสี่ยง เช่น การจัดกิจกรรมเคลื่อนย้ายวัตถุอันตรายออกจากทางโค้ง ตัดสางต้นไม้ ซ่อมแซมปรับปรุงสภาพแวดล้อมบนถนนบริเวณที่เป็นหลุมเป็นบ่อ และการติดตั้งหลักนำโค้ง ป้ายเตือนทางโค้งสัญลักษณ์เตือนบริเวณทางโค้งหักศอก สี่แยกวัดใจ 2.ติดตั้งป้ายบิลบอร์ดรณรงค์ เพื่อให้คนในพื้นที่ตระหนักถึงโทษของการดื่มสุรา

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนลดลง
2.ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภค ลดลง
3.อัตราการเกิดนักดื่มรายใหม่ในระดับเยาวชน หรือ กลุ่มสตรี ลดลง
4.ร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีจำนวนเพิ่มมากยิ่งขึ้น
5.ผู้ป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ปัญหาจิต-ประสาท ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร
มีจำนวนลดลง


>