กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางขุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อย.น้อย ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางขุด

รพ.สต.บ้านหัวเด่น

นางสาวทัดดา แก่นมั่น

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท หมู่ที่ 9-12 ในเขตรับผิดชอบ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาหารเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นต่อชีวิตมนุษย์เราทุกคน เพราะเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่ช่วยให้ร่างกายมนุษย์ เจริญเติบโตและยังทำให้มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ได้ แต่ในปัจจุบันโลกมีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอาหารประกอบกับ จำนวนพลเมืองของโลกที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีการผลิตอาหารในปริมาณมาก ๆ ทำให้มีการค้นคิดวิธีการต่าง ๆ ใน การ เก็บรักษาอาหารได้นาน รวมทั้งช่วยให้อาหารมีรูปลักษณ์ที่ดี ทำให้ผู้บริโภคสนใจและต้องการเลือกซื้อ โดยมีการ นำสารเคมีต่าง ๆ มาผสมในอาหาร ซึ่งสารเคมีบางอย่างเป็นอันตรายต่อร่างกาย บางชนิดหากบริโภคเข้าไปในปริมาณ มากอาจถึงแก่ชีวิตได้ พบว่ามีอาหารหลายชนิดที่เรารับประทานเข้าไปโดยไม่รู้ว่ามีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ โดยสารเคมีที่ เป็นอันตรายแต่พบมีการปนเปื้อนในอาหารมี ๔ ชนิด ได้แก่ ๑. บอแรกซ์ ๒. ฟอร์มาลิน ๓. สารกันรา ๔. สารฟอกขาวดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ได้จัดทำให้มีการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ขึ้นและได้มีการจัดโครงการ อย.น้อย ในโรงเรียนเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ ปลอดภัยทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการในสถานศึกษารักและห่วงใยรวมทั้งเห็นโทษในการใช้สารปนเปื้อน ในอาหารกับเด็กนักเรียน ทางผู้จัดทำจึงได้มีการดำเนินการเพื่อที่จะให้ความรู้ความเข้าใจแก่แม่ค้าและเยาวชน ในสถานศึกษาตามโครงการ อย.น้อย ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียน อสม. และประชาชน มีความรู้ ทักษะในเรื่องความปลอดภัยในด้านอาหาร

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 33
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 12/06/2023

กำหนดเสร็จ 22/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เจ้าหน้าที่ชี้แจ้งดำเนินงานโครงการฯ แก่ครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
เจ้าหน้าที่ชี้แจ้งดำเนินงานโครงการฯ แก่ครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 มิถุนายน 2566 ถึง 22 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้กับ ครู นักเรียน อสม.ละประชาชน จำนวน 30 คน เกี่ยวกับเรื่องการเลือกซื้ออาหารและการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้กับ ครู นักเรียน อสม.ละประชาชน จำนวน 30 คน เกี่ยวกับเรื่องการเลือกซื้ออาหารและการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารและเครื่องดื่ม        1,650.00
ค่าสัมนาคุณวิทยากร           3,600.00 ค่าวัสดุ                            6,100.00
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม   2,350.00

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มิถุนายน 2566 ถึง 22 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13700.00

กิจกรรมที่ 3 ออกตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 2 ครั้ง (เดือน พฤษภาคม 2566 และเดือนกรกฎาคม 2566)

ชื่อกิจกรรม
ออกตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 2 ครั้ง (เดือน พฤษภาคม 2566 และเดือนกรกฎาคม 2566)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 มิถุนายน 2566 ถึง 22 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 มิถุนายน 2566 ถึง 22 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. แกนนำ อสม. และ นักเรียน ย.น้อย ที่มีความรู้การเรียนรู้ สามารถตรวจาหารได้ จาการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ปลดภัย ร้อยละ 80
2.แกนนำ อสม. และนักเรียน อย.น้อย มีกิจกรรมทำได้แก่ การตรวจหาอาหารที่จำหน่ายภายใน/รอบๆ โรงเรียนและตลาดสดหรือชุมชนใกล้เบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารฟอก
3.แกนนำ อสม และนักเรียน อยน้อย สามารถให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในรูปแบบต่างๆ เช่น บอร์ความความรู้ ให้ความรู้หน้าเสาธงตอนเช้า
4.โรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบมีแก่นนำ อย น้อยทุกโรงเรียน และมีกิจกรรมต่อเนื่อง โดยมีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร อย่างน้อย ปีละ2 ครั้ง


>