กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อย ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านหัวเด่น
วันที่อนุมัติ 12 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 12 มิถุนายน 2566 - 22 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 33 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นต่อชีวิตมนุษย์เราทุกคน เพราะเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่ช่วยให้ร่างกายมนุษย์ เจริญเติบโตและยังทำให้มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ได้ แต่ในปัจจุบันโลกมีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอาหารประกอบกับ จำนวนพลเมืองของโลกที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีการผลิตอาหารในปริมาณมาก ๆ ทำให้มีการค้นคิดวิธีการต่าง ๆ ใน การ เก็บรักษาอาหารได้นาน รวมทั้งช่วยให้อาหารมีรูปลักษณ์ที่ดี ทำให้ผู้บริโภคสนใจและต้องการเลือกซื้อ โดยมีการ นำสารเคมีต่าง ๆ มาผสมในอาหาร ซึ่งสารเคมีบางอย่างเป็นอันตรายต่อร่างกาย บางชนิดหากบริโภคเข้าไปในปริมาณ มากอาจถึงแก่ชีวิตได้ พบว่ามีอาหารหลายชนิดที่เรารับประทานเข้าไปโดยไม่รู้ว่ามีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ โดยสารเคมีที่ เป็นอันตรายแต่พบมีการปนเปื้อนในอาหารมี ๔ ชนิด ได้แก่ ๑. บอแรกซ์ ๒. ฟอร์มาลิน ๓. สารกันรา ๔. สารฟอกขาวดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ได้จัดทำให้มีการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ขึ้นและได้มีการจัดโครงการ อย.น้อย ในโรงเรียนเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ ปลอดภัยทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการในสถานศึกษารักและห่วงใยรวมทั้งเห็นโทษในการใช้สารปนเปื้อน ในอาหารกับเด็กนักเรียน ทางผู้จัดทำจึงได้มีการดำเนินการเพื่อที่จะให้ความรู้ความเข้าใจแก่แม่ค้าและเยาวชน ในสถานศึกษาตามโครงการ อย.น้อย ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียน อสม. และประชาชน มีความรู้ ทักษะในเรื่องความปลอดภัยในด้านอาหาร

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 13,700.00 0 0.00
12 มิ.ย. 66 - 22 ก.ย. 66 เจ้าหน้าที่ชี้แจ้งดำเนินงานโครงการฯ แก่ครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน 0 0.00 -
12 มิ.ย. 66 - 22 ก.ย. 66 ออกตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 2 ครั้ง (เดือน พฤษภาคม 2566 และเดือนกรกฎาคม 2566) 0 0.00 -
12 มิ.ย. 66 - 22 ก.ย. 66 สรุปผลการดำเนินโครงการ 0 0.00 -
16 มิ.ย. 66 - 22 ก.ย. 66 จัดอบรมให้ความรู้กับ ครู นักเรียน อสม.ละประชาชน จำนวน 30 คน เกี่ยวกับเรื่องการเลือกซื้ออาหารและการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร 0 13,700.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แกนนำ อสม. และ นักเรียน ย.น้อย ที่มีความรู้การเรียนรู้ สามารถตรวจาหารได้ จาการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ปลดภัย ร้อยละ 80 2.แกนนำ อสม. และนักเรียน อย.น้อย มีกิจกรรมทำได้แก่ การตรวจหาอาหารที่จำหน่ายภายใน/รอบๆ โรงเรียนและตลาดสดหรือชุมชนใกล้เบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารฟอก 3.แกนนำ อสม และนักเรียน อยน้อย สามารถให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในรูปแบบต่างๆ เช่น บอร์ความความรู้ ให้ความรู้หน้าเสาธงตอนเช้า 4.โรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบมีแก่นนำ อย น้อยทุกโรงเรียน และมีกิจกรรมต่อเนื่อง โดยมีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร อย่างน้อย ปีละ2 ครั้ง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2566 10:28 น.