กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก รหัส กปท. L7889

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ
กลุ่มคน
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล

องค์การสหประชาชาติได้กำหนดเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2573ซึ่งการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้นได้ถูกกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติและสำหรับประเทศไทยการดำเนินงานด้านหลักประกันสุขภาพของประชาชนได้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2545อันส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยทุกคนในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาการดำเนินงานร่วมกันในด้านบริการจัดการระบบหลักประกันสุขภาพภายใต้ความร่วมมือระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในกลุ่มที่ต้องได้รับบริการด้านสาธารณสุขเป็นกรณีพิเศษอาทิ กลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงรวมถึงกลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังสามารถเข้าถึงบริการทางสุขภาพอย่างเหมาะสมและทั่วถึงตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2545ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ.ศ.2561ข้อ6ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่่โดยการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการสถานบริการหน่วยงานสาธารณสุขหน่วยงานอื่นองค์กรหรือกลุ่มประชาชนเพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพกองทุนฯท้องถิ่นจึงเป็นแหล่งทุนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะบริหารจัดการเพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่ได้รับบริการดูแลสุขภาพอย่างครอบคลุมและเหมาะสม

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัดการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรคให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีดังนั้นการบริหารจัดการกองทุนเป็นกลไกสำคัญในการที่จะเชื่อมโยงเข้าถึงการประสานการทำงานให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการการใช้โปรแกรมในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในการทำงานด้านบัญชีการดำเนินโครงการกิจกรรมและการจัดการข้อมูลพื้นฐานส่งผลให้ดำเนินการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไปจึงได้จัดทำโครงการการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อขับเคลื่อนการบริหารกองทุนฯ ให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที
    ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ :การสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยรับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรายได้ ปี 2567 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ :การสนับสนุนงบประมาณครอบคลุมหน่วยรับทุน 6 ประเภท และครอบคลุม 8 กลุ่มเป้าหมาย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้
    ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ :การบริหารจัดการกองทุนโปร่งใสตรวจสอบได้ร้อยละ100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : การเข้าถึงข้อมูลเพื่อตรวจสอบความโปร่งใสสามารถเข้าถึงได้ง่าย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ คณะกรรมกาีบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการกองทุนฯฝ่ายต่างๆ และคณะทำงานให้มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ
    ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : คณะกรรมการกองทุนฯ คณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนความรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ คณะทำงาน เจ้าหน้าที่ชุมชน ทำให้เกิดการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อพัฒนาทีมเจ้าหน้าที่ชุมชนให้เป็นกลไกการขับเคลื่อนในการบริหารจัดการกองทุน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ , คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ , คณะทำงาน
    รายละเอียด

    คณะกรรมการบริหาร

    ค่าตอบแทนประชุม จำนวน 20 คน x 300 บาท x 4 ครั้ง เป็นเงิน 24,000 บาท

    ค่าตอบแทนประชุมคณะทำงาน จำนวน 8 คน x 200 บาท x 4 ครั้ง เป็นเงิน 6,400 บาท

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำวน 28 คน x 25 บาท x 4 ครั้ง เป็นเงิน 2,800 บาท

    รวมเป็นเงิน 33,200 บาท


    คณะอนุฝ่ายแผนและติดตามประเมินผลฯ

    ค่าตอบแทนประชุม จำนวน 11 คน x 300 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 6,600 บาท

    ค่าตอบแทนประชุมคณะทำงาน จำนวน 7 คน x 200 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,800 บาท

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 18 คน x 25 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 900 บาท

    รวมเป็นเงิน 10,300 บาท


    คณะอนุฝ่ายกลั่นกรองโครงการฯ

    ค่าตอบแทนประชุม จำนวน 9 คน x 300 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,400 บาท

    ค่าตอบแทนประชุมคระทำงาน จำนวน 7 คน x 200 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,80 บาท

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 16 คน x 25 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 800 บาท

    รวมเป็นเงิน 9,000 บาท


    คณะอนุ LTC

    ค่าตอบแทนประชุม จำนวน 10 คน x 300 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน6,000 บาท

    ค่าตอบแทนประชุมคณะทำงาน จำนวน 8 คน x 200 บาท x 2 ครั้งเป็นเงิน 3,200 บาท

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 16 คน x 25 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 800 บาท

    รวมเป็นเงิน 10,000 บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 62,500 บาท

    งบประมาณ 62,500.00 บาท
  • 2. จัดทำประชาคมสุขภาพ
    รายละเอียด

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน x คนละ 25 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท

    รวมเป็นเงิน 1,750 บาท

    งบประมาณ 1,750.00 บาท
  • 3. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแลกเปลี่ยนความรู้คณะกรรมการฯ , คณะอนุกรรมการฯ , คณะทำงาน , เจ้าหน้าที่ชุมชน
    รายละเอียด

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน x คนละ 25 บาท  เป็นเงิน  1,750  บาท

    ค่าวิทยากร  ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง  เป็นเงิน 1,800  บาท

    รวมเป็นเงิน  3,550  บาท

    งบประมาณ 3,550.00 บาท
  • 4. บริหารจัดการประเภท ครุภัณฑ์ วัสดุสำนักงานกองทุนฯ
    รายละเอียด

    วัสดุสำนักงานและวัสดุอื่นๆเช่นกระดาษ A4 ปากกาดินสอ น้ำยาลบคำผิด สันรูดพลาสติกแฟ้ม คลิปหนีบกระดาษ ค่าถ่ายเอกสารต่างๆ ป้ายประชาสัมพันธ์ เครื่องอัดเสียง วัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ และอื่นที่เกี่ยวข้อง
    เป็นเงิน19,800บาท

    รวมเป็นเงิน19,800บาท

    งบประมาณ 19,800.00 บาท
  • 5. บริหารจัดการซ่อมแซมบำรุงและรักษา
    รายละเอียด

    ค่าบริหารจัดการซ่อมแซมบำรุงรักษาวัสดุครุภัณฑ์กองทุนฯ  เป็นเงิน  2,000  บาท

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 89,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.คณะกรรมการบริการกองทุนฯ อนุกรรมการฝ่ายต่างๆเข้าใจวัตถุประสงค์แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ.ศ. 2561และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธฺภาพมากยิ่งขึ้น

2.คณะกรรมการบริหารกองทุนฯและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ คณะทำงาน มีความรู้ความเข้าใจในการกลั่นกรองโครงการการอนุมัติโครงการ ติดตามโครงการกิจกรรมและแนวทางการดำเนินงานที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

3.คณะกรรกมารบริหารฯ คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ คณะทำงานเจ้าหน้าที่ชุมชนมีการพัฒนาศักยภาพตนเองแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการกองทุนฯได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก รหัส กปท. L7889

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก รหัส กปท. L7889

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 89,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................