กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการยืดเหยียดร่างกายสไตล์โยคะขั้นพื้นฐาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล

ชมรมโยคะเพื่อสุขภาพ&แอโรบิคผสม (ซุมบ้า)

1. นางนิตยา อังกิตติสวัสดิ์ ประธานชมรมเบอร์ติดต่อ081-5430535
2. นางวัชรี โต๊ะเอียดรองประธานเบอร์ติดต่อ 091-0488612
3. นางเกสสุดา มานะเวชเหรัญญิก เบอร์ติดต่อ 086-9604287
4. นางสาวบุญประภาช่วยชมสมาชิกเบอร์ติดต่อ094-5922668
5. นางสารีย์วงศ์สัมพันธ์สมาชิกเบอร์ติดต่อ092-1289868

ห้องสันทนาการ ชั้น ๑ อาคารศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา อ.เมือง จ.สตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนสมาชิกชมรมโยคะเพื่อสุขภาพ&แอโรบิคผสม (ซุมบ้า)

 

20.00

หลักการและเหตุผล: ชมรมโยคะเพื่อสุขภาพฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายของคนในชุมชมและบุคคลทั่วไป ที่สนใจและชื่นชอบการออกกำลังกายในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับตัวเอง มีสถานที่เอื้ออำนวยและสะดวกในการเดินทาง และทำกิจกรรมดังกล่าว เนื่องด้วยปัจจุบันได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยกับการเดินทางมาออกกำลังกายหรือหากิจกรรมสำหรับการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตัวเองหรือวัยของแต่ละบุคคลได้ ทางชมรมฯ จึงเสนอทางเลือกการออกกำลังกายวิธีนี้ เพื่อให้บุคคลที่สนใจได้เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว และอีกทางภาครัฐได้สนับสนุนรณรงค์ให้ประชาชนหันมาออกกำลังกายกันให้มากขึ้นเพื่อลดภาวะการเกิดโรคต่างๆดังนั้นทางชมรมฯ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา ชักชวนผู้ที่สนใจมาร่วมทำกิจกรรมดังกล่าว และเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เสริมสร้างความสามัคคีภายในชุมชน ลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ ได้
1. เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนและประชาชนทั่วไปที่สนใจกิจกรรมนี้ มีส่วนเข้าร่วมการดำเนินกิจกรรม
2. เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์การออกกำลังกายในรูปแบบการเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบการฝึกโยคะในระดับพื้นฐาน
3. เพือให้ผู้เล่นได้มีกิจกรรมดีๆ เพื่อเป็นทางเลือกในการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเอง
4. เพื่อให้ผู้เข้าเล่นกิจกรรมดังกล่าวได้นำความรู้ ทักษะการเล่นโยคะไปปรับใช้บริหารร่างกายเองได้ในขณะทำงานด้วยท่าพื้นฐานง่ายๆ เพื่อลดความเมื่อยล้า

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คนในชุมชน และประชาชนทั่วไปที่สนใจการออกกำลังกายโดยวิธีการเล่นโยคะ ได้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ และมีทักษะการเล่นโยคะท่าพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง

จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบบโยคะอย่างน้อยสัปดาละ 4 วัน

4.00 6.00
2 มีบุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ

คัดเลือกบุคคลต้นแบบในการดุแลสุขภาพ อย่างน้อย 3 คน

0.00 3.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 31/07/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ยืดเหยียดร่างกายสไตล์โยคะขั้นพื้นฐาน

ชื่อกิจกรรม
ยืดเหยียดร่างกายสไตล์โยคะขั้นพื้นฐาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นตอนการทำกิจกรรม :
1. ประชุมกำหนดขั้นตอนและวางแผนการดำเนินงาน
2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
3. ประชาสัมพันธ์โครงการ และติดต่อประสานงานฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
4. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับการทำกิจกรรม และผู้นำการฝึกโยคะ
5. ดำเนินการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนดของโครงการ
6. สรุปผลการดำเนินการ
ระยะเวลาดำเนินงาน :
ทุกวันจันทร์ - วันพฤหัสเวลา 17.30 น. - 18.30 น.
สถานที่ : ห้องนันทนาการ ชั้น 3 อาคารผู้สูงอายุและพัฒนาอาชีพอ. เมืองจ.สตูล
งบประมาณ :
ขอรับเงินสนับสนุนจาก เทศบาลเมือสตูล จ. สตูล
1. ค่าวิทยากร( 3,600 บาท x 6 เดือน ) เป็นจำนวนเงิน 21,600บาท
2. ค่าแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ 1*3 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท เป็นจำนวนเงิน 450 บาท
รายชื่อสมาชิกชมรมโยคะเพื่อสุขภาพ&แอโรบิคผสม (ซุมบ้า)
1. นางสมจิตต์ นุกูลกิจ
2. นางรัญชน์รวีธรรม ปรีชาถาวร
3. นางสาวอุบลวรรณ แสงเอียด
4. นางสาวฤทัยทิพย์ จันทร์ศรี
5. นางกนกพร กันตวิชญ์วงศ์
6. นางสาวพิธพร นิโกบ
7. นางกัลยาไชยจารีย์
8. นางวัชรี โต๊ะเอียด
9. นางสาวบุญประภา ช่วยชม
10.นางจรรยา สุปราณี
11.นางสาวกันธิมา สุวรรณฏิจ
12.นางสาวรัศมีวรรณ วชิรานุลักษณ์
13.นางสาวปราณี นิยมเกต
14.นางจนิสา อินทร์ภักดี
15.นางนพรัตน์ บุญอินทร์
16.นางสาวกิ่งกาญจน์ ไชบงาม
17.นางวิไลพักตร์ วชิรอนันต์
18.นางจันทร์ธิรา ปิ่นสวัสดิ์
19.นางสาวณีสะ เหมเด็น
20.นางสาวปิยะธิดา ทองเกลี้ยง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเฉลี่ย 20-25 คน
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมอยู่นระดับดี - ดีมาก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22050.00

กิจกรรมที่ 2 คัดเลือกบุคคลต้นแบบการมีสุขภาพดี

ชื่อกิจกรรม
คัดเลือกบุคคลต้นแบบการมีสุขภาพดี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คัดเลือกบุคคลต้นแบบที่มีสุขภาพดี จากการเข้าร่วมกิจกรรม อย่างน้อย 3 คนโดยใช้เกณฑ์ น้ำหนัก พฤติกรรมการดูแลตัวเอง สุขภาพโดยรวม และจัดทำสรุปผลการดำเนินกิจกรรม งบประมาณค่าใช้จ่าย :
1. ค่าถ่ายเอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นจำนวนเงิน 200บาท
2. จัดทำสรุปผลการดำเนินงานโครงการ จำนวน 2 เล่ม ๆ ละ 250บาท เป็นเงิน 500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และจิตใจ แจ่มใส ร่าเริง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,750.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เพื่อให้คนในชุมชน และประชาชนทั่วไป มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีจิตใจที่แจ่มใส
2. ลดความเมื่อยล้าและอาการบาดเจ็บจากทำงาน มีความสามัคคีและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในชุมชน
3. ช่วยให้นอนหลับง่ายขึ้น ระบบอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายทำงานได้ดีขึ้นที่สำคัญทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะการเล่นต่างๆ
4. นำท่าบริหารต่างไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้


>