กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลยะรัง) ประจำปีงบประมาณ 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลยะรัง) ประจำปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง

1. นายแซะห์อับดุลเราะห์มานอาเยาะแซ
2. นางอังคณาตาเละ
3. นางมัสราตอแก
4. นายอัลวาดลล่าเต๊ะ
5. นายอับดุลเล๊าะ ตะเย๊าะ

อาคารแสดงวัตถุโบราณบ้านจาเละหมู่ที่ 4ตำบลยะรังอำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม

 

85.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

80.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

80.00
4 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

85.00 90.00
2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

80.00 85.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด

80.00 85.00
4 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

80.00 85.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1เรื่องการใช้ชีวิตในวัยผู้สูงอายุ/การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจร่างกาย สังคม เศรษฐกิจ พิธีเปิดโครงการ โดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน2,100 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน8,100บาท กิจกรรมที่ 2เรื่องการดูแลสุขภาพ (3 อ) อาหารและโภชนาการ/การออกกำลังกาย/อารมณ์ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 3เรื่อง คุณประโยชน์ของสมุนไพรไทย (อบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติ)
ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 4เรื่องการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 5เรื่องการปลูกผักรั้วกินได้ (ความปลอดภัยทางด้านอาหาร) ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 6เรื่องอาหารและโภชนการในผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท

กิจกรรมที่ 7เรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 8เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 9เรื่องการส่งเสริม ดูแลรักษาสุขภาพจิต สุขภาพใจของผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 10 เรื่องการนวดแผนไทยสำหรับผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 11 เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยตามสุขบัญญัติ และการพักผ่อนที่เหมาะสมของผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 12 เรื่องการใช้ยาในผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท

กิจกรรมที่ 13 เรื่องการ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง หลักธรรมเติมพลังชีวิตผู้สูงวัย ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 45 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน1,575 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน7,575บาท กิจกรรมที่ 14เรื่องการเตรียมตัวสู่วัยชราอย่างมีคุณค่า พิธีปิดโครงการ
ค่าอาหารกลางวันจำนวน45 คน ๆละ 80 บาทเป็นเงิน 3,600บาท ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่มจำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน2,100 บาท ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนจำนวน4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท รวมเป็นเงิน8,100บาท ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.5 x 3เมตร เป็นเงิน1,125บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ (อบรมทฤษฎี) เป็นเงิน8,950บาท ค่ากระเป๋าผ้าดิบพร้อมสกรีนจำนวน45ใบ ๆ ละ 150บาทเป็นเงิน6,750บาท ค่าสมุดบันทึกจำนวน45เล่ม ๆ ละ 35บาทเป็นเงิน1,5750บาท ค่าปากกาจำนวน45ด้ามๆ ละ7บาทเป็นเงิน315บาท ค่ากระดาษบรู๊ฟ จำนวน20 แผ่น ๆ ละ 3 บาทเป็นเงิน60บาท ค่าปากกาเคมีจำนวน10 ด้าม ๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน250บาท ค่าวัสดุอปุกรณ์ (อบรมปฏิบัติ) เป็นเงิน2,635บาท ค่าน้ำมันมะพร้าวจำนวน 3 ลิตร ๆ ละ 100บาทเป็นเงิน300 บาท ค่าพิมเสนจำนวน 6 ถุง ๆ (ถุงละ 50 กรัม) ละ 140 บาท เป็นเงิน840 บาท ค่าการบูรจำนวน 3 ถุง ๆ (ถุงละ 100 กรัม) ละ 75บาท เป็นเงิน 225บาท ค่าเมนทอลจำนวน3 ถุง ๆ (ถุงละ 100 กรัม) ละ 90บาท เป็นเงิน 270บาท ค่าหอมระเหย (น้ำมันสาระแหน่) จำนวน 100 มิลลิกรัมเป็นเงิน 250บาท ค่าขวดน้ำมันไพล จำนวน50 ขวดๆละ 12 บาทเป็นเงิน 600บาท ค่าไพลสดจำนวน3กิโลกรัม ๆ ละ 50บาท เป็นเงิน 150บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุห่วงใยไม่ทอดทิ้งกันมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันและกัน
2.สูงอายุสุขภาพแข็งแรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อายุยืนเกิน 80 ปี
3.สูงอายุมีความสุข มีรอยยิ้ม มีกำลังใจไม่เป็นโรคซึมเศร้า และสุขภาพดี มีรายได้เพิ่ม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
127385.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 127,385.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง
2.ผู้สูงอายุมีกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อสังคม
3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจที่ดี
4.ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมร่วมกัน


>