กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง รหัส กปท. L3010

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการค้นหาป้องกันและควบคุมโรควัณโรคตำบลคลองมานิง
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
รพสต.คลองมานิง
กลุ่มคน
รพ.สต.คลองมานิง
3.
หลักการและเหตุผล

วัณโรค เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย องค์การอนามัยโลกจัดลำดับ ให้ประเทสไทย ติดอันดับในกลุ่ม 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคสูง ทั้งวัณโรค (TB)วัณโรคที่มีการติดเชื้อ เอชไอวี ร่วมด้วย(TB/HIV)และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) โดยปี พ.ศ.2559 องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค มีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณโรคให้ต่ำกว่า 10 ต่อแสนประชากรโลกภายใน ปี พ.ศ.2578 โดยประเทศไทยได้กำหนดแผนปฏิบัติการระดับชาติค้านการต่อต้านวัณโรค พ.ศ.2560-2564 มีเป้าประสงค์เพื่อลดอุบัติการณ์โรคให้เหลือ 88 ต่อประชากรแสนคน เมื่อสิ้นปี 2564 โดยมุ่งเน้นค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาระบบและ ซึ่ง วัณโรคเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เกิดจากแบคทีเรียชนิดหนึ่ง เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย แต่พบบ่อย คือ วัณโรคปอด ติดต่อผ่านระบบทางเดินหายใจโดยเชื้อจะออกมากับการไอ จาม ทำให้เชื้อกระจายในอากาศ ในห้องที่ทึบอับแสง เชื้อวัณโรคอาจมีชีวิตอยู่ได้ถึง 1 สัปดาห์ ถ้าเสมหะที่มีเชื้อลงสู่พื้นที่ไม่มีแสงแดดส่อง เชื้ออาจอยู่ได้ในเสมหะแห้งได้นานถึง 6 เดือน และเข้าสู่ร่างกายทางการหายใจเอาเชื้อเข้าไป สำหรับอาการที่สำคัญของผู้ป่วยวัณโรคคือ ไอ ติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ ไอมีเสมหะหรือไอมีเสมหะปนเลือด เจ็บหน้าอก เหนื่อยหอบ มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือค่ำ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลีย ส่วนการรักษาปัจจุบันวัณโรครักษาหายได้ด้วยยาที่มีประสิทธิภาพสูงมาก โดยผู้ป่วยต้องกินยาให้ครบอย่างต่อเนื่องตลอดการรักษาเป็นเวลา 6-8 เดือน การป้องกันคือการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้หาย การรักษาที่ถูกต้องจะทำให้ผู้ป่วยไม่แพร่เชื้อสู่ผู้อื่นและหายจากวัณโรคในที่สุด จังหวัดปัตตานี ปี 2564 - 2566 มีผู้ป่วยวัณโรคที่ตรวจพบขึ้นทะเบียนรักษาโรงพยาบาลปัตตานี จำนวน 378 ราย พบว่ามีผู้ป่วยวัณโรคตำบลคลองมานิง ที่ขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค ตั้งแต่ 2563-2566 จำนวน 11 คน รายแยกรายปี ดังนี้ ปี2563 จำนวน 4 รายปี2564 จำนวน 1 ราย ปี 2565 จำนวน 3 ราย และ ปี 2566 จำนวน 3 ราย ผลการรักษาดังนี้ซึ่งได้เสียชีวิตแล้ว จำนวน2 รายรักษาสำเร็จ จำนวน 6 ราย กำลังรักษา จำนวน 2ราย และ ขาดการรักษาเนื่องจากขาดการติดต่อ ย้ายที่อยู่ไปมาเลเซีย จำนวน 1 ราย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองมานิง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาด้วยการจัดทำโครงการค้นหา ป้องกันและควบคุมโรควัณโรคในชุมชน ปี2567 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และได้รับการตรวจ และวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็ว เพื่อลดการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองและตรวจรักษาที่รวดเร็ว
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ75
    ขนาดปัญหา 67.00 เป้าหมาย 50.25
  • 2. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแล ติดตาม กำกับการกินยาให้ครบ(DOT)
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
    ขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 2.00
  • 3. 3.ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
    ขนาดปัญหา 67.00 เป้าหมาย 53.60
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ขั้นเตรียมการ 1 ประชุมชี้แจงทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.คลองมานิง อสม.ตำบลคลองมานิง และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทำฐานข้อมูล (การเฝ้าระวังโรคติดต่อ, และคืนข้อมูลแก่ชุมชน/เครือข่าย)3. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ สนับสทะเบียนนุนงบประมา
    รายละเอียด
    • ค่าจัดทำป้ายโครงการ 1 ป้าย ขนาด 1 x 3.2 เมตร x 250 บาทรวมเป็นเงิน 800 บาท
    • ค่าจัดทำป้ายความรู้วัณโรคในชุมชนขนาด 1 x 1.5 เมตร4ป้าย x 375 บาทรวมเป็นเงิน1,500 บาท
    งบประมาณ 2,300.00 บาท
  • 2. ขั้นดำเนินการ 4. จนท.และอสม คัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในสถานพยาบาล และเชิงรุกในชุมชน โดยให้ความรู้แก่ชาวบ้าน พร้อมติดป้ายประชาสัมพันธ์ความรู้โรควัณโรคในชุมชน 5. สำรวจกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง 6.อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง 7. ตรวจx-ray ปอด ด้วยรถโมบสล
    รายละเอียด

    ขั้นดำเนินการ
    4. จนท.และอสม คัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในสถานพยาบาล และเชิงรุกในชุมชน โดยให้ความรู้แก่ชาวบ้าน พร้อมติดป้ายประชาสัมพันธ์ความรู้โรควัณโรคในชุมชน 4 หมู่บ้าน 5. สำรวจกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง (ผู้สัมผัสร่วมบ้าน,ผู้สูงอายุ,ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และบุคลากรสาธารณสุข) โดยใช้แบบสอบถามเบื้องต้น หากพบผู้มีอาการผิดปกติหรือสงสัย ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาและวินิจฉัยโรคต่อไป

    6 .จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลและป้องกันโรควัณโรคในกลุ่มเสี่ยงผู้สัมผัสร่วมบ้าน,ผู้สูงอายุ,ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และบุคลากรสาธารณสุข) และ อสม. 7. คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ด้วยการ ตรวจ x-ray ปอดด้วยรถโมบายจากรพ.ปัตตานี(ผู้สัมผัสร่วมบ้าน,ผู้สูงอายุ,ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และบุคลากรสาธารณสุข)
    8.เยี่ยมติดตามผู้ป่วย พร้อมกำกับการกินยาDot ทุกราย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
    -ชุดความรู้ แผนพับ ชุดละ 25 บาท x 67 คน รวมเป็นเงิน1,675 บาท - ค่าอาหารกลางวัน (วันอบรมให้ความรู้) 67 คน x 70 บาทรวมเป็นเงิน4,690 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 67 คน x 2 มื้อรวมเป็นเงิน4,690 บาท - ค่าวิทยากร 2 คน ให้ความรู้ 6 ชั่วโมง x 600บาทรวมเป็นเงิน3,600 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม วัน x-ray ปอด ด้วยรถโมบาย40 คนx 35 รวมเป็นเงิน2,345 บาท
    - ค่าจัดทำสมุดบันทึกการกินยา(Dot) เล่มละ 100 บาท x 5 เล่ม รวมเป็นเงิน 500 บาท

    งบประมาณ 17,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองมานิง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 19,800.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง รหัส กปท. L3010

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองมานิง รหัส กปท. L3010

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 19,800.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................