กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการผู้สูงวัย ไม่พึ่งพิง เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มคน
นายพิทักศิษย์พานิชธนาคม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ
นางสาวอรุณวาตี สิทธิเส็ม หัวหน้าฝ่ายบริการสาธารณสุข
นางสาวรอซีดาเจ๊ะแว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 064-0477513
นางสาวพนิดารัตนสุริยา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 0973452068
3.
หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) หากพิจารณาจากคำจำกัดความที่ว่าสังคมผู้สูงอายุคือสังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปมากกว่า 10% หรือมีประชาชนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 7% ประเทศไทยก็เป็นสังคมผู้สูงอายุแล้วตั้งแต่ปี 2548 เนื่องจากประเทศไทยมีประชากรตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป 10.4% และยังคาดการณ์ว่าในอีก 20 ปีข้างหน้า สังคมไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) โดยพิจารณาจากจำนวนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 20% หรือมีประชากรที่มีอายุ 65 ปี ขึ้นไปเกินกว่า 14% ซึ่งคาดว่าในปี 2571 ประเทศไทยจะมีผู้ที่อายุเกิน 60 ปี 23.5%
ในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก มีประชากรผู้สูงอายุในปี พ.ศ. 2564 จำนวน 6,075 คน คิดเป็นร้อยละ 14.95 และในปี พ.ศ. 2565 จำนวน 6,203 คน คิดเป็นร้อยละ 15.43 และในปี 2566 จำนวน 6,554 คน คิดเป็นร้อยละ 16.36 และมีผู้พิการ 800 คน ซึ่งมีกลุ่มผู้สูงอายุมีติดบ้านติดเตียง ในปี 2566 จำนวน 88 คน กล่าวโดยรวม คือ ประเทศไทยจะก้าวจากสังคมผู้สูงอายุ เป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ทั้งนี้ประเทศไทยเมื่อเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจึงควรมีการเตรียมการเพื่อรองรับ เมื่อมีคนแก่หรือคนชรา รวมถึงผู้พิการมากขึ้น ส่งผลให้สภาพร่างกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับตัว ที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้น สภาพร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลง ปัญหาด้านสุขภาพก็จะตามมา โดยเฉพาะในโรคยอดฮิต คือ หลอดเลือดสมอง (Stroke) ปัจจุบันพบผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่เจ็บป่วยร่วมด้วยที่ยอด617 ราย และเสียชีวิต 12 ราย (ข้อมูลจาก HDC 15/11/66) ซึ่งทั้งหมดเป็นปัญหาที่ทุกภาคส่วนควรมีการเตรียมการเพื่อรองรับจำนวนผู้สูงอายุที่จะมีเพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยได้มีนโยบายสำคัญให้ผู้สูงอายุติดสังคมและกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง (ติดบ้านติดเตียง) ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและได้สนับสนุนให้องค์กรปกครองท้องถิ่น (อปท.) เป็นหน่วยบริหารจัดการพัฒนาระบบระยะยาวเชิงรุกที่บ้าน เพื่อรองรับสถานการณ์ที่ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมุ่งหวังให้องค์กรปกครองท้องถิ่นเป็นหน่วยหลักในการบริหารและจัดบริการดูแลระยะยาวฯ เชิงรุกที่บ้าน หรือที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หรือพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการภายใต้การสนับสนุนของเครือข่ายหน่วยบริการประจำในพื้นที่
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้ตระหนักถึงประชาชนในกลุ่มวัยผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่ยังไม่ได้รับชุดสิทธิประโยชน์ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ ให้ได้รับสิทธิฯ และเพื่อให้เกิดความควบคลุมในพื้นที่ รวมถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุมีระดับคะแนนความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพในวัยผู้สูงอายุร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุมีความรู้เฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วยได้ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
  • 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มึภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับชุดสิทธฺิประโยชน์ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพิ่งพิงในชุมชนได้รับการคัดกรองการประเมิน ADL
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมส่งเสริมความรู้ การปฎิบัติตัว กลุ่มติดสังคม
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุติดสังคม 40 คน คณะทำงาน 5 คน
    รายละเอียดกิจกรรม
    - จัดอบรมความรู้แก่ผู้สูงอายุติดสังคมเกี่ยวกับการดูแลและการปฏิบัติตนในการเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี เป็นระยะเวลา 1 วัน
    กำหนดการ
    08.30 - 08.55 น. ลงทะเบียน/คัดกรองภาวะซึมเศร้า/ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน/การเคลื่อนไหว
    08.55 - 09.00 น. เปิดพิธีอบรมฯ
    09.00 - 12.00 น. อบรมความรู้การส่งเสริมและป้องกันการเกิดอันตรายในวัยสูงอายุ / อบรมความรู้เกี่ยวกับ โรคจิตเวชในวัยสูงอายุ
    12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
    13.00 - 16.00 น. อบรมให้ความรู้ รู้จักสมุนไพรช่วยผ่อนคลายกับแพทย์แผนไทย พร้อมสาธิตการทำสมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุขภาพ
    งบประมาณ
    - ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 45 คน เป็นเงิน 2,700 บาท
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 45 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,700 บาท
    - ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท
    - ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในโครงการ 3,000 บาท
    - ค่าป้ายโครงการ 1,200 บาท

    งบประมาณ 13,200.00 บาท
  • 2. ลงคัดกรองกลุ่มติดบ้านติดเตียงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย
    - ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงในแต่ละชุมชน
    - ประธานชุมชนหรือ อสม. ชุมชนละ 2 คน
    - เจ้าหน้าที่กองสวัสดิการ 2 คน
    - เจ้าหน้าที่กองสาธรณสุขฯ 2 คน
    รายละเอียดกิจกรรม
    - ประสานประธานชุมชนหรืออสม.ในแต่ละชุมชน ร่วมลงเยี่ยมบ้านคัดกรองผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง เพื่อคัดกรองเข้าสู่กองทุน LTC ปีละ 2 ครั้ง (6 เดือน/ครั้ง)
    งบประมาณ
    - ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงาน 2 คน x 50 บาท x 2 ชม.x 31 ชุมชน x 2 ครั้ง เป็นเงิน 12,400 บาท

    งบประมาณ 12,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 40 คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 25,600.00 บาท

หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและการเจ็บป่วย 3.ผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับชุดสิทธฺิประโยชน์ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 25,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................