กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแก้ปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

นางสาวนูรียะ วาเต๊ะ เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ภัยธรรมชาติโดยเฉพาะอุทกภัยเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลกระทบและความเสียหายขึ้นมากมาย ได้แก่ ผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากนํ้าท่วม เกิดปัญหาอุปสรรคต่อการดําเนินชีวิตของผู้ประสบภัย สร้างความกดดัน เกิดความสูญเสียด้านทรัพย์สิน เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพมากมาย อย่างฉับพลัน รวดเร็ว ถือเป็นภาวะวิกฤต และภาวะอันตราย ฤดูฝน เป็นฤดูที่อากาศเปลี่ยนแปลงจากความร้อนสู่ความชื้น เป็นช่วงที่เชื้อโรค แบคทีเรีย และไวรัสทั้งหลายเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี และแพร่ระบาดได้ง่ายและรวดเร็วกว่าฤดูอื่น ๆ จึงต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ โรคที่พบบ่อยในฤดูฝน จะมี 3 กลุ่มโรค ประกอบด้วย 1. กลุ่มโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ พบบ่อยที่สุด เช่น ไข้หวัดใหญ่ปอดอักเสบหรือปวดบวม 2. กลุ่มโรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร น้ำ และการสัมผัส พบบ่อยที่สุด เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้ฉี่หนู โรคเมลิออยด์ 3. กลุ่มโรคที่เกิดจากยุงและสัตว์อื่น ๆ ที่เป็นพาหะ พบบ่อย เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบานา จึงได้จัดทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและแกนนำในพื้นที่ตำบลบานา ลงพื้นที่ในการดูแลสุขภาพป้องกันโรค แก่ประชาชน อีกทั้งให้การสนับสนุนชุดยาสามัญประจำบ้านที่จําเป็นให้แก่พื้นที่ประสบภัย และรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้และความตระหนักในการป้องกัน ดูแลสุขภาพ ลดการเจ็บป่วย และลดการเกิดโรคติดต่อต่าง ๆ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

 

0.00
2 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพในช่วงฤดูฝนและหลังน้ำลด

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 29/11/2023

กำหนดเสร็จ 26/12/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการกองทุน ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมแกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการกองทุน ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการกองทุน ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการกองทุน ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.การมอบชุดยาสามัญประจำบ้านเพื่อบรรเทาโรคจากน้ำท่วม

2.การมอบรองเท้าบูทเพื่อป้องกันโรคฉี่หนูเพื่อป้องกันการระบาดพร้อมให้ความรู้

• ค่าจัดซื้อชุดยาสามัญประจำบ้านจำนวน 400 ชุดๆละ 150.-บาท เป็นเงิน 60,000.-บาท

• ค่าจัดซื้อรองเท้าบู๊ทจำนวน 60 คู่ๆละ 280.-บาท เป็นเงิน 16,800.-บาท

3.จัดทำป้ายรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพในช่วงฤดูฝนและหลังน้ำลด

4.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่มากับนำ้ท่วม โดยหอกระจายเสียง

• ป้าย ขนาด 2 X4 เมตร X 2,000.-บาทจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 2,000 -บาท

• ป้าย ขนาด 1X 4 เมตร X 1,000.-บาท จำนวน 4 ป้าย เป็นเงิน4,000 -บาท

• โปรสเตอร์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่มากับนำ้ท่วม เป็นเงิน จำนวน300 แผ่น X15 บาทเป็นเงิน4,500.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 ธันวาคม 2566 ถึง 26 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
87300.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมในการรับมือจากอุทกภัย

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมในการรับมือจากอุทกภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ให้ความรู้การรับมือและการฝึกปฏิบัติ เตรียมความพร้อมในการรับมือจากอุทกภัย

  2. ฝึกปฏิบัติการเตรียมการเคลือนย้ายผู้ป่วยและผู้สูงอายุ

-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน X35 .-บาท X 1 มื้อเป็นเงิน1,050.-บาท

-ชุดเสื้อกันฝนจำนวน30 ชุด X 350.-บาท เป็นเงิน 10,500.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 ธันวาคม 2566 ถึง 26 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11550.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 98,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนตำบลบานาได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพที่ตามมาจากน้ำท่วม

2.ประชาชนในพื้นที่ไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม


>