กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี

รพสต.ควนธานี

ม.1-6 ตำบลควนธานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากรายงานการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72เดือน ในพื้นที่ตำบลควนธานี ปีงบประมาณ 2566 พบว่ามีเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ คือ เตี้ย 18 คน ร้อยละ10.05 (น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 9.5 ) อ้วนและเริ่มอ้วน 20 คน ร้อยละ 11.17 (น้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ8

 

3.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 72 เดือน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน 3.3 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ ร้อยละ90 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 503.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100

3.00 80.00
2 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 72 เดือน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน 3.3 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ ร้อยละ90    2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 50    3.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100

3.00 80.00
3 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 72 เดือน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน 3.3 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ ร้อยละ90 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 503.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100

3.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.บริการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเด็ก 0- 72 เดือน

ชื่อกิจกรรม
1.บริการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเด็ก 0- 72 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1.อสม.ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะให้เด็ก0-72 เดือนในชุมชนทุก 3 เดือน 1.ค่าเครื่องวัดส่วนสูงแบบยืนเครื่องละ 3,000 จำนวน 1 เครื่อง = 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 2 2.อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
2.อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการแก่ผู้ปกครองและอสม.ที่ติดตามดูแล 1.ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600 บาท x 3 ชั่วโมง = 1,800 บาท 2.ค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 25 บาท x 50คน =1,250 บาท 4.ค่าวัสดุในการอบรมชุดละ 30 บาท x 50 ชุด =1,500 บาท 5.ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับแผ่นละ 1 บาท x 1,000 แผ่น =1,000 บาท รวม5550 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5550.00

กิจกรรมที่ 3 3.ติดตามเยี่ยมบ้าน

ชื่อกิจกรรม
3.ติดตามเยี่ยมบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าเครื่องดื่ม 10 บาท x 20 คน x 6ครั้ง = 1,200บาท 3.ค่านมกล่องละ10บาท1 มื้อๆละ 10 บาท x 18 คน x 60 วัน = 10,800บาท รวม 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,550.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ2ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 3.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง


>