กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ในชุมชน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานี
วันที่อนุมัติ 11 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มีนาคม 2567 - 15 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 31,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจิรารัตน์ งามวัฒนะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากรายงานการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72เดือน ในพื้นที่ตำบลควนธานี ปีงบประมาณ 2566 พบว่ามีเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ คือ เตี้ย 18 คน ร้อยละ10.05 (น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 9.5 ) อ้วนและเริ่มอ้วน 20 คน ร้อยละ 11.17 (น้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ8
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 72 เดือน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน 3.3 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ ร้อยละ90 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 503.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100

3.00 80.00
2 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 72 เดือน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน 3.3 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ ร้อยละ90    2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 50    3.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100

3.00 80.00
3 1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 72 เดือน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน 3.3 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ ร้อยละ90 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 503.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100

3.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 68 31,400.00 0 0.00
20 มี.ค. 67 - 19 เม.ย. 68 1.บริการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเด็ก 0- 72 เดือน 0 3,000.00 -
9 เม.ย. 67 2.อบรมให้ความรู้ 50 9,400.00 -
1 พ.ค. 67 - 15 ก.ย. 67 3.ติดตามเยี่ยมบ้าน 18 19,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็ก 0- 72 เดือนได้รับการติดตามเฝ้าระวังทางโภชนาการ2ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 3.เด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ย. 2566 11:27 น.