กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด รหัส กปท. L5300

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาสุขภาพระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด
กลุ่มคน
ชื่อองค์กร กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด
1. นายจารักษ์ เพ็ชรเขียว ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.คลองขุด เบอร์โทรศัพท์ 094-9530559
2. นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เบอร์โทรศัพท์ 062-9626491
3. นางรอซีดา แหล่ทองคำ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ เบอร์โทรศัพท์ 098-0101397
4. นางสาวน้ำทิพย์ คำวิจิตร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์ 093-6237315
5. นางสาวนูไรดา บิสนุม ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์ 093-7271313
3.
หลักการและเหตุผล

การสร้างระบบปฐมภูมิ ให้มีคุณภาพมาตรฐานบริการ ได้แก่ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และ เพื่อให้เพื่อให้ครอบคลุมทั้ง 5 กลุ่มวัย ได้แก่ ปฐมวัย( 0-5 ปี) เด็กวัยเรียน (5-14 ปี) เด็กวัยรุ่น (15 21 ปี) วัยทำงาน (15 -59 ปี) วัยผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)และประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่มีขีดจำกัดทางเศษฐกิจ และเพื่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่งการมีสุขภาพที่ดีเป็นต้นทุนของทุกคนและทุกกลุ่มวัยการสร้างนำซ่อมหรือที่เรียกว่าการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับปฐมภูมิจึงเป็นกระบวนการและสิ่งสำคัญในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแต่ปัจจุบันการเจ็บป่วยเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงค่าใช้จ่ายการรักษาเพิ่มมากขึ้น แต่ผลตอบแทนด้านสุขภาพมีน้อย เห็นได้จากอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้หรือโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการปฏิบัติตัว ยังมีอัตราป่วยที่สูงขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ฯลฯ
โดยจากปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่การป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตผู้ป่วยจิตเวช ผู้พิการ พัฒนาการเด็กล่าช้า หญิงตั้งครรภ์ขาดการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก มีภาวะคลอดก่อนกำหนด ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงรวมถึงการติดตามดูแลในพื้นที่ยังไม่ครอบคลุมและยังคงเป็นปัญหาจากสถานการณ์ที่กล่าวมาทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดจึงต้องมีการบริหารการจัดการการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ โดยการสำรวจ คัดกรองข้อมูลสุขภาพ รวมถึงปัญหาสุขภาพในพื้นที่ทั้งกลุ่มที่เป็นโรคเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังผู้สูงอายุ ผู้พิการเด็ก 0-5 ปี ผู้ป่วยติดเตียง หญิงตั้งครรภ์ซึ่งควรได้รับความรู้ให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นของการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญอันดับแรกในการดูแลให้คำแนะนำในการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องตามไตรมาสการคัดกรองเพื่อลดความเสี่ยง เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนดทั้งหมดนี้เป็นกลุ่มเปราะบางในพื้นที่ กลุ่มบุคคลดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการดูแลและให้คำแนะนำ และการเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมตามมาตรฐานการดูแลสุขภาพจากทีมหมอครอบครัวรวมถึงภาคีเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จึงได้จัดจัดทำโครงการพัฒนาสุขภาพในระดับปฐมภูมิ “ชุมชนเป็นฐาน ประชาขนสุขภาพดี” ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ในพื้นที่โดยเน้นการให้บริการให้ครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และการบริการเชิงรุกในชุมชน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวมรวมทั้งกาย จิต สังคม โดยบูรณาการงานเยี่ยมบ้านรวมถึงการให้คำแนะนำและความรู้แก่ญาติและผู้ป่วยที่บ้าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและแกนนำสุขภาพเพื่อให้ประชาชนปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีสุขภาวะที่ดี

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
    ขนาดปัญหา 88.24 เป้าหมาย 94.12
  • 2. เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
    ขนาดปัญหา 1.49 เป้าหมาย 1.24
  • 3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 95.12 เป้าหมาย 97.56
  • 4. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 85.36 เป้าหมาย 90.24
  • 5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
    ขนาดปัญหา 0.45 เป้าหมาย 0.39
  • 6. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
    ขนาดปัญหา 5.50 เป้าหมาย 4.90
  • 7. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 16.00
  • 8. เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
    ขนาดปัญหา 34.26 เป้าหมาย 32.14
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจ(หมอคนที่1)
    รายละเอียด

    การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจ(หมอคนที่1)
    1.อบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพตามภารกิจหมอคนที่ 1 /วางแผนวิธีการดำเนินงาน 2. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มวัย/กลุ่มป่วย 3. จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายให้เป็นปัจจุบัน
    งบประมาณ
    1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม แกนนำ/จนท.เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน6,000บาท 1.2 ค่าอาหารกลางวัน แกนนำผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 7,000บาท

    งบประมาณ 13,000.00 บาท
  • 2. กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ/คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในชุมชน
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ/คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในชุมชน
    1.1 สำรวจฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนในพื้นที่
    1.2 คัดกรองประชาชนอายุ 35 – 59ปี
    2.จัดการระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 2.1 ปรับปรุงฐานข้อมูล เพื่อพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ ทั้งข้อมูลเวชระเบียน การวินิจฉัยโรค เภสัชกรรม ให้มีข้อมูลครบถ้วน 2.2 ตรวจสอบข้อมูลและแก้ไขการบันทึกข้อมูลพร้อมส่งข้อมูล HDC 2.3 การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้มตามตัวชี้วัดและบันทึกการติดตามเยี่ยม 2.4 ลงข้อมูลในระบบฐานข้อมูล JHCIS งบประมาณ
    1.กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ
    1.1 ค่าเอกสารคัดกรอง/สำรวจข้อมูลสุขภาพ จำนวน2,710 ชุด ๆละ 5 บาท เป็นเงิน 13,550บาท
    1.2 ค่าสมุดบันทึกข้อมูลตามกลุ่มเป้าหมาย จำนวน100 เล่ม ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
    2. ค่าแฟ้มสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวาน จำนวน240 เล่ม ๆละ 65 บาท เป็นเงิน 15,600บาท

    งบประมาณ 34,150.00 บาท
  • 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ 1.1 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี การดูแลสุขภาพ/พัฒนาการเด็ก 1.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
    1.3 กลุ่มเสี่ยงความดัน-เบาหวาน 1.4 หญิงตั้งครรภ์ 1.5 ผู้สูงอายุติดสังคม งบประมาณ
    กิจกรรมรณรงค์คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก “สุขภาพปีนี้ คุณเป็นอย่างไร” 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม แกนนำ/จนท/ประชาชนอายุ 35 -59ปีขึ้นไปในชุมชน จำนวน 400 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน12,000บาท

    งบประมาณ 12,000.00 บาท
  • 4. กิจกรรมให้สุขศึกษาส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมให้สุขศึกษาส่งเสริมการดูแลสุขภาพ 1.1 หญิงตั้งครรภ์ 1.2 เด็กแรกเกิด – 5 ปี ได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรคตามเกณฑ์อายุ 1.3 เด็กแรกเกิด – 5 ปี หนูน้อยนมแม่ สุขภาพดี พัฒนาการสมวัย 1.4 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
    2.จัดบริการการดูแลติดตาม/เยี่ยมบ้านโดยทีมหมอครอบครัว
    2.1 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
    2.2 กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับค่าความดันโลหิตสูง/เบาหวานได้ตามเกณฑ์ 2.3 กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง 2.4 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านที่มีปัญหาสุขภาพ 2.5 กลุ่มผู้ป่วยจิตเวช/ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ งบประมาณ
    1.กิจกรรมอบรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพ 1.1 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน1,200บาท -ค่าอาหารกลางวัน ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่เข้าร่วมอบรม จำนวน 20 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 1,400บาท
    1.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 150 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 9,000บาท -ค่าอาหารกลางวัน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 150 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 10,500 บาท
    1.3 กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 40 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 2,400 บาท -ค่าอาหารกลางวัน กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน จำนวน 40 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน2,800 บาท
    1.4 หญิงตั้งครรภ์ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 15 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 900 บาท -ค่าอาหารกลางวัน หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 15 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน1,050 บาท
    1.5 ผู้สูงอายุติดสังคม - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน1,200บาท - ค่าอาหารกลางวัน ผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 20 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 1,400บาท

    งบประมาณ 31,850.00 บาท
  • 5. กิจกรรมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/สื่อสุขศึกษา
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/สื่อสุขศึกษา
    1.1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การดูแลสุขภาพ ได้แก่ วันงดสูบบุหรี่โลก วันยาเสพติด วันเอดส์โลก ไข้เลือดออก ฯลฯ
    1.2 เผยแพร่ สื่อประชาสัมพันธ์
    งบประมาณ
    กิจกรรมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การดูแลสุขภาพในชุมชน จำนวน 100 คนๆละ 30 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน6,000 บาท

    งบประมาณ 6,000.00 บาท
  • 6. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
    รายละเอียด

    ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 100 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท

    งบประมาณ 3,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1,2,5 และ 6 ตำบลคลองขุด

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 100,000.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณต่าง ๆ สามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริง กิจกรรมสถานที่และเวลา สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ผลผลิต
1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมและดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
2.กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค และส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง
ผลลัพธ์
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญ มีความรู้ในการดูแลตนเอง
2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันตนเองจากการเกิดโรคไม่ติดต่อได้
3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์มาตราฐาน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด รหัส กปท. L5300

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด รหัส กปท. L5300

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 100,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................