กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยบ้านโคกทราย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

ชมรมอสม.ม.1บ้านโคกทราย

นายนิยมบุญกอง0611905418
นางรัตนดา เพชรบุญวรรโณ0869559323
นางอารีย์ นวลเจริญ0620611155
นายประยงค์ อุ้ยเซ่ง0883921812
นางขวัญสุดาพรหมแก้ว0945914816

ม.1 ต.จะโหนงอ.จะนะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

13.00
2 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

24.00
3 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

 

62.00
4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน

 

10.14
5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

 

13.52
6 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีสุขภาพดีสมส่วน

 

75.00
7 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้ติดตามชั่งน้ำหนักอย่างต่อเนื่อง

 

73.00

จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานเฝ้าระวังด้านโภชนาการปีงบประมาณ 2566 ของรพ.สต.จะโหนงสามารถนำมาวิเคราะห์ได้ว่า เป้าหมายเด็กตามช่วงอายุที่ต้องได้รับการคัดกรองในปีงบประมาณ 2566 ไตรมาสที่ 3-4 เด็กที่มีโภชนาการสูงดีสมส่วน จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ซึ่งตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการดีสูงดีสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ80 เมื่อจำแนกรายหมู่บ้านพบว่าเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ(ผอม,เตี้ย,อ้วน) ของหมู่ที่ 1,5,6,7,8,10 เป็น 5,1,3,9,1,8ตามลำดับทั้งนี้นอกจากการส่งเสริมสุขภาพเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ปฐมวัยและต่อเนื่องตลอดชีวิตประกอบด้วยการเลี้ยงดูที่เหมาะสมปัจจัยแวดล้อมทางสังคม และการติดตามอย่างต่อเนื่องโดยทีมงานสุขภาพ โดยเฉพาะช่วง 5 ปี แรกของชีวิตการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ที่ยั่งยืน และป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว จำเป็นต้องเริ่มพัฒนาตั้งแต่ปฐมวัย โดยเน้นให้ครอบครัวและชุมชนเป็นแกนหลักในการส่งเสริมสุขภาพอย่างแท้จริงให้ได้รับการดูแลสุขภาพร่างกาย จิตใจ พัฒนาการที่สมบูรณ์เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไปด้านโภชนาการ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มภาวะสูงดีสมส่วนในเด็ก 0-5 ปี

ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

75.00 80.00
2 เพื่อเพิ่มการติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี อย่างต่อเนื่อง

ร้อยละร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

73.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 46
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย 46
หญิงตั้งครรภ์ 6

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/02/2024

กำหนดเสร็จ 28/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-สถานการณ์/ปัญหา กำหนดแนวทางการปฏิบัติ และแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบของทีมงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 16 คนๆละ 25 บาทเป็นเงิน 400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 7 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการกำหนดแนวทางการปฏิบัติ มีการแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบของทีมงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
400.00

กิจกรรมที่ 2 มุมโภชนาการชุมชนเเรียนรู้ไว เข้าถึงง่าย

ชื่อกิจกรรม
มุมโภชนาการชุมชนเเรียนรู้ไว เข้าถึงง่าย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดหาวัสดุ-แถบวัดส่วนสูงแบบยืน  จำนวน 2 ชิ้นๆละ  220  บาท เป็นเงิน 440  บาท   ครุภัณฑ์-ที่วัดความยาวเด็กแบบนอน  จำนวน 1 ชิ้นๆละ 1,900 บาท  , เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอลขนาด 100 กิโลกรัม   จำนวน 2 เครื่องละ 2,150 บาท เป็นเงิน 4,300 บาท สาธิตการใช้  การตรวจสอบคุณภาพวัสดุอุปกรณ์แก่ทีมงานที่เกี่ยวข้อง

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 19 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทีมงานสามารถใช้วัสดุอุกรณ์ในการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงได้อย่างถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6640.00

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมทักษะการดูแลภาวะโภชนาการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัยหญิงตั้งครรภ์และผู้เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมทักษะการดูแลภาวะโภชนาการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัยหญิงตั้งครรภ์และผู้เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สนทนากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาภาวะโภชาการในปัจจุบันแนวทางการส่งเสริมการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพความรู้และแนะนำการเลือกใช้ฉลากโภชนาการ -ค่าวิทยากร 1 ชม. 600 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 25 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 625บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มีนาคม 2567 ถึง 18 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แนวทางการส่งเสริมโภชนาการที่ถูกต้อง ติดตามภาวะโภชาการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1225.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามพฤติกรรมการเลี้้ยงดูเด็กปฐมวัยเชิงรุก

ชื่อกิจกรรม
ติดตามพฤติกรรมการเลี้้ยงดูเด็กปฐมวัยเชิงรุก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามการเลี้ยงดู  ทัศนคติ  การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่เหมาะสมที่บ้านของเด็กปฐมวัยกลุ่มเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  8 คน ๆละ 25 บาท  จำนวน  2  ครั้ง  เป็นเงิน  400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 เมษายน 2567 ถึง 23 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมกับการเลี้ยงดูด้านโภชนาการร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
400.00

กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมทักษะการเลือกอาหารบริโภคสำหรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัยหญิงตั้งครรภ์ และผู้เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมทักษะการเลือกอาหารบริโภคสำหรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัยหญิงตั้งครรภ์ และผู้เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ทบทวนกิจกรรมชั่งน้ำหนักส่วนสูงและการบันทึกกราฟโภชนาการของผู้ปกครอง, แนวทางการเลือกอาหารเสริมให้เด็ก, การกำหนดมาตรการชุมชนส่งเสริมโภชนาการ
-ค่าวิทยากร 1 ชม. 600 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 25 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 625บาท -จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์มาตรการชุมชน จำนวน 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มิถุนายน 2567 ถึง 10 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกตรองเด็กปฐมวัยสามารถเลืออาหารเสริมให้เด็กบริโภคได้อย่างเหมาะสมร้อยละ 80 มีมาตรการชุมชนด้านส่งเสริมโภชนาการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1525.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลและการคืนข้อมูลให้ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลและการคืนข้อมูลให้ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปผล และนำเสนอประเด็นมาตรการชุมชนส่งเสริมภาวะโภชนาการ -ค่าจัดทำรายงานสรุปผล จำนวน  300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 สิงหาคม 2567 ถึง 8 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

รายงานสรุปผล  จำนวน 1 ฉบับ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,490.00 บาท

หมายเหตุ :
ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยได้ในแต่ละกิจกรรม

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยหญิงตั้งครรภ์ให้ความสนใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านโภชนาการส่งผลให้เด็กมีภาวะการเจริญเติบโตตามวัยตามเกณฑ์และมีการติดตามภาวะสุขภาพเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง


>