กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง

หมู่ที่ 3 ตำบลตำมะลัง

1.น.ส อารียาอาแว
2. น.ส มารีนา นาวา
3. น.ส ย๊ะ นาวาเดช
4. นาย สุกรี เด็นหมาน
5. นาย เซะ สาเมาะ

ตำบลตำมะลังตั้งอยู่พื้นที่ หมู่2 และหมู่ที่3 ตำบลตำมะลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตุล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนในตำบลตำมะลังประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะ ในหมู่2 และหมู่ที่3 ตำบลตำมะลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล การขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชายเป็นการเอาใจใส่ดูแลสุขอนามัยและการทำให้บริสุทธิ์ การขลิบเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อเด็กผู้ชายทุกคน ภาษาอาหรับ เรีย

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย แก่เด็กชายในตำบลตำมะลัง

เด็กผู้ชาย ได้รับการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศพื่อเฝ้าระวังป้องกันติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

80.00 30.00
2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กผู้ชายขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์

เด็กผู้ชายที่เข้ารับบริการขลิบได้รับการบริการด้วยความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ

30.00
3 เพื่ออบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพแก่เด็กชาย บิดามารดาและผู้ปกครอง

เด็กชายที่รับบริการ บิดา มารดา ผู้ปกครอง มีการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและไม่มีการติดเชื้อหลังการขลิบ

60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 26
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 10/05/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าสมนาคุณวิทยากร 1x600
เป็นเงิน 600บาท -ค่าอาหารกลางวัน 30 คน คนละ 60 บาท เป็นเงิน1,800 บาท - ค่าอาหารว่าง จำนวน 60 คนๆละ 1 มื้อๆละ 30 บาทเป็นเงิน 1,800บาท - ค่าไวนิล ขนาด 1x2 ม.เป็นเงิน300บาท - ค่าใช้สถานที่ เป็นเงิน500บาท
-ค่าผ้าขาวม้า ผืนละ100 บาท จำนวน 30 ผืน
เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 10 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมการอบรมร้อยละ 95 ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพภายหลังการขลิบและมีความปลอดภัยจากผลกระทบหลังจากการทำหัตถการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าตอบแทนผู้ทำหัตการ 26 คนละ 1,000 บาท เป็นเงิน 26,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 เมษายน 2567 ถึง 10 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 เด็กผู้ชายที่ผ่านการขลิบหนังหุ้มอัวยวะเพศมีสุขภาพอนามัยที่ดี 2 เด็กผู้ชาย บิดา มารดา และผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพและการรักษาบาดแผลจากการขลิบอย่างถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับทำสุนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยะวะเพศชาย) สามารถลดความเสี่ยงของการออกเลือด ภาวะแทรกซ้อน และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องการโรคติดเชื้อ


>