กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการโภชนาการเพื่อเด็กวัยเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง

โรงเรียนชุมชนบ้านพงสตา

นางสาวมาดีฮัต ยานยา นางสาวแวสามีเร๊าะลอเด็ง นายสูไหดีมอลอ นางมัรยัม มะดีเยาะ นางสาวอานิส

โรงเรียนชุมชนบ้านพงสตา หมู่ 5 ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 94160

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กอายุ 3-10 ปี ที่มีภาวะขาดโภชนาการที่ดี

 

60.00
2 ร้อยละของเด็กอายุ 3-10 ปี รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์

 

60.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะการขาดโภชนาการของเด็กอายุ 3-10 ปี

นักเรียนอายุ 3-10 ปี ร้อยละ 60 มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

60.00 60.00
2 เพื่อให้นักเรียนอายุ 3-10 ปีรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

นักเรียนอายุ 3-10 ปี ร้อย 60 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์

60.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครองนักเรียน 100

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ทำป้ายโครงการ 1*3 เป็น 750 บาท
  2. ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท ระยะเวลา2วันเป็นเงิน7,200บาท (อบรมนักเรียน 1 วัน ผู้ปกครอง 1 วัน
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาทจำนวน 2 มื้อ ระยะเวลา2วันนักเรียน112คนเป็นจำนวนเงิน7,840บาทของผู้ปกครอง100 คน เป็นจำนวนเงิน7,000บาทรวมค่าอาหารว่างของนักเรียนและผู้ปกครอง14,840บาท
  4. ค่าอาหารเที่ยงของผู้ปกครอง 50 บาท1 มื้อ จำนวน 100 คน เป็นเงิน 5,000 บาท
  5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ 5.1 กระดาษ a4 จำนวน 1 รีม เป็นเงิน 120 บาท 5.2 ปากกาเคมี จำนวน 1 โหลเป็นเงิน 160 บาท 5.3 กระดาษปรุ๊ฟ จำนวน 10 แผ่นๆละ 3 บาท เป็นเงิน 30 บาท รวมค่าวัสดุ 310 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารและหลักโภชนาการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27350.00

กิจกรรมที่ 2 สาธิตการทำอาหาร

ชื่อกิจกรรม
สาธิตการทำอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. การทำแกงเขียวหวาน 1.1 กะทิจำนวน 2 กิโลกรัมๆละ 60 บาท เป็นเงิน 120 บาท 1.2 เครื่องแกง 0.5 กิโลกรัมๆละ 60 บาท เป็นเงิน 30 บาท 1.3 ฟักเขียว 2 กิโลกรัมๆละ 30 บาท เป็นเงิน 60 บาท 1.4 ไก่ 5 กิโลกรัมๆละ 65 บาท เป็นเงิน 325 บาท
  2. การทำบัวลอยมะพร้าวอ่อน 2.1 แป้งข้าวเหนียว 1 กิโลกรัมๆละ 46 บาท เป็นเงิน 46 บาท 2.2 ฟักทอง 1 ลูกๆละ 50 บาท เป็นเงิน 50 บาท 2.3 กะทิ 1 กิโลกรัมๆละ 60 บาท เป็นเงิน 60 บาท 2.4 มะพร้างอ่อน 3 ลูกๆละ 20 บาท เป็นเงิน 60 บาท 2.5 น้ำตาลทราย 1 กิโลกรัมๆละ 33 บาท เป็นเงิน 33 บาท
  3. การทำผัดพักรวมมิตร 3.1 กุ่ง 1 กิโลกรัมๆละ 160 บาท เป็นเงิน 160 บาท 3.2 กะหล่ำปลี 1 กิโลกรัมๆละ 50 บาท เป็นเงิน 50 บาท 3.3 แครอท 0.5 กิโลกรัมๆละ 40 บาท เป็นเงิน 20 บาท 3.4 หอมใหญ่ 1 กิโลกรัมๆละ 40 บาท เป็นเงิน 20 บาท 3.5 ถั่วลันเตา 0.5 กิโลกรัมๆละ 80 บาท เป็นเงิน 40 บาท
  4. การทำแซนวิช 4.1 ขนมปัง 2 ห่อๆละ 32 บาท เป็นเงิน 64 บาท 4.2 ผักกาดหอม 0.5 กิโลกรัมๆละ 60 บาท เป็นเงิน 30 บาท 4.3 ไข่ไก่ 1แผงๆละ 130 บาท เป็นเงิน 130 บาท 4.4 ปูอัด 1 ถุงๆละ 60 บาท เป็นเงิน 60 บาท 4.5 แครอท 1 หัวๆละ 10 บาท เป็นเงิน 10 บาท 4.6 กะหล่ำปลี 1 หัวๆละ 10 บาท เป็นเงิน 10 บาท 4.7 ซอสมะเขือเทศ 1 ถุงๆละ 33 บาท เป็นเงิน 33 บาท
  5. การทำข้าวผัดทะเล 5.1 กุ้ง 0.5 กิโลกรัมๆละ 160 บาท เป็นเงิน 80 บาท 5.2 ปลาหมึก 1 กิโลกรัมๆละ 180 บาท เป็นเงิน 180 บาท 5.3 แครอท 0.5 กิโลกรัมๆละ 40 บาท เป็นเงิน 20 บาท 5.4 ไข่ไก่ 0.5 แผงๆละ 130 บาท เป็นเงิน 65 บาท 5.5 ข้าวโพด 3 ฝักๆละ 10 บาท เป็นเงิน 30 บาท 5.6 ถั่งฝักยาว 0.5 กิโลกรัมๆละ 30 บาท เป็นเงิน 15 บาท 5.7 ข้าวหอมมะลิ 1 กิโลกรัมๆละ 35 บาท เป็นเงิน 35 บาท 5.8 น้ำมันพืช 1 ขวดๆละ 40 บาท เป็นเงิน 40 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายสามารถประกอบอาหารที่มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 34,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

นักเรียนและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจถึงหลักโภชนาการที่สูงขึ้นรวมทั้งสามารถประกอบอาหารที่มีประโยชน์ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
1.เด็กวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
3.โรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง/ไม่เหมาะสมลดน้อยลง


>