2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัญหาโรคเรื้อรังในปัจจุบัน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่ม และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี
จากผลการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชนบ้านนายสี ซึ่งดำเนินการโดยอสม.บ้านนายสี ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ ในปี ๒๕๖๕ ประชาชนบ้านนายสีกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปทั้งหมด ๔๖๒ ราย พบว่าผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวาน ๓๑ ราย และเป็นความดันโลหิตสูง จำนวน ๑๐๔ ราย และผู้ที่มีค่า BMI เกินค่าปกติ (ค่าปกติ คือ 18.5 - 22.9) มีจำนวนมาก ซึ่งผู้ที่จัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส และติดตามตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว และวัดความดันโลหิตอย่างต่อเนื่องเพื่อประเมินอาการ และเพื่อลดกลุ่มป่วยรายใหม่
กลุ่มอสม.หมู่ที่ ๔ บ้านนายสี จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในชุมชน เพื่อสร้างการรับรู้เรื่องอันตรายจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และเพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงของโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนบ้านนายสี
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น
กำหนดเสร็จ
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?๑. ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอันตรายจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
๒. ประชาชนได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงและค้นหาความเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน