กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการร่วมใจลดพุง ลดโรค ปี 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก
กลุ่มคน
1. น.ส.นูรฮายาตี สะมะแอ
2. นางอุบลวรรณ เส่งสีแดง
3. นางรอตีป๊ะตะเย๊าะ
4. น.ส.นารีย๊ะเจ๊ะเต๊ะ
5. น.ส.กลือซง แวบือซา
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้สุขภาพเป็นเรื่องสำคัญที่เราทุกคนต้องดูแลไม่ว่าสุขภาพกายหรือสุขภาพจิต ยิ่งโรคอ้วนลงพุง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญเกิดขึ้นในประชากรทั่วไปอย่างรวดเร็วและกำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลกโรคอ้วนลงพุง เป็นกลุ่มอาการของความผิดปกติที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจและเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ดังนั้นเป้าหมายในการดูแลรักษาคือการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ การแก้ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้แก่โรคอ้วนและภาวะดื้ออินซูลินโดยการป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง ควบคุมเบาหวาน การลดน้ำหนักตัวและที่สำคัญควบคุมระดับไขมันในเลือดด้วยการลดไตรกลีเซอร์ไรด์ แอล-ดี-แอล โคเลสเตอรอล และเพิ่มเอช-ดี-แอลโคเลสเตอรอลในเลือดโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต การออกกำลังกายเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการหด คลายของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย ในการนี้ทางอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก จึงเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย จึงได้จัดทำโครงการ ร่วมใจ ลดพุงลดโรค ปี 2567 เพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจการออกกำลังกายที่ถูกวิธี เหมาะสมตามวัย และฝึกปฏิบัติจริงเพื่อปฏิบัติในชีวิตจริงต่อไป กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง การเท่าเทียมของประชาชนทุกคนโดยให้ประชาชนได้รับรู้ สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพ ทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมแซมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับ ความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ โดยเฉพาะ 3 อ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย และ 2 ส คือไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มสุรา เป็นการปรับก่อนป่วย เพราะทั้ง 2 โรคมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม โดยมี อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนสำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชน ร่วมปรับพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก เห็นความสำคัญของการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค จึงได้จัดทำโครงการ พลัง อสม.สู่ชุมชนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค เพื่อให้ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และชุมชนพัฒนาเป็นองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคได้อย่างยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบเอวและรอบสะโพกลดลง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบเอวและรอบสะโพกลดลง
    ขนาดปัญหา 55.00 เป้าหมาย 40.00
  • 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและจิตใจในการลดภาวะเสียงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและจิตใจในการลดภาวะเสียงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุง
    ขนาดปัญหา 55.00 เป้าหมาย 40.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรที่ 1. ให้ความรู้เรื่องสาเหตุหรือปัจจัยหลักที่ทำให้ระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบเอวและรอบสะโพกเพิ่มขึ้น และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและจิตใจในการลดภาวะเสียงต่อการเกิดโรคอ้วน
    รายละเอียด

    8.30 น. - 9.00 น.- ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. - 10.00 น. – แลกเปลี่ยนความรู้ก่อนเข้าอบรม 10.00 น. - 10.30 น. - พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 น. - 12.00 น. - ให้ความรู้เรื่องสาเหตุหรือปัจจัยหลักที่ทำให้ระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบเอวและรอบสะโพกเพิ่มขึ้น
    12.00 น. -13.00 น.- พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. -14.00 น.– ให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและจิตใจในการลดภาวะเสียงต่อการเกิดโรคอ้วน
    14.00 น.-14.30 น - พักรับประทานอาหารว่าง

    1.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 55 คน คนละ25 บาทจำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,750 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันจำนวน 55 คน คนละ 60 บาทจำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,300 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 4.ค่าสมุด จำนวน 55 เล่ม เล่มละ 15 บาท เป็นเงิน825 บาท 5.ค่าปากกา จำนวน 55 ด้าม ด้ามละ 5 บาทเป็นเงิน275 บาท 6.ค่ากระเป๋า 55 ใบ ใบละ 80 บาท เป็นเงิน 4,400 บาท 9.ค่าป้ายโครงการจำนวน 1 ป้าย ขนาด 1 × 2 เมตร ตารางเมตรละ 250 บาท เป็นเงิน500 บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิน 15,050 บาท

    งบประมาณ 15,050.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2. สาธิตการวิธีการที่ทำให้เส้นรอบเอวลดลง 80 เซนติเมตร
    รายละเอียด

    14.30 น. -15.30 น.- สาธิตวิธีการที่ทำให้เส้นรอบเอวลดลง 80 เซนติเมตร 15.30 น. - 16.00 น. – ประเมินและสรุปความรู้เกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัยหลักที่ทำให้ระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบเอวและรอบสะโพกเพิ่มขึ้น
    16.00 น – 16.30 น. พิธีปิดโครงการ

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 15,050.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับไขมันในร่างกาย ไขมันในช่องท้อง เส้นรอบเอวและรอบสะโพกลดลง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและจิตใจในการลดภาวะเสียงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 15,050.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................