กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก รหัส กปท. L4143

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก
3.
หลักการและเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.70 มีปัญหาฟันถาวรผุ ร้อยละ 52.00 โดยพบว่ามีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 31.50 มีฟันผุระยะเริ่มต้น ร้อยละ 12.20 เคยปวดฟัน ร้อยละ 36.70 และเคยหยุดเรียนเพราะไปทำฟัน ร้อยละ 12.20มีเพียงร้อยละ 48.00 ปัจจุบันพบว่าเด็กไทยมากกว่าครึ่งหนึ่งมีฟันผุ ซึ่งถ้าไม่ดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีรวมถึงพฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพช่องปากจะสะสมและมีความรุนแรงจนอาจเกิดการสูญเสียฟันถาวรตั้งแต่เด็ก แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจพบว่า เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านการแปรงฟัน เพียงร้อยละ 9.50 แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน ร้อยละ 59.70 และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสี่ยง ได้แก่ ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลมมากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 52.00 กินขนมกรุบกรอบ และลูกอม มากกว่า 2 ครั้งต่อวัน ร้อยละ 28.90 และ 21.40 ตามลำดับ (แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข, 2565) การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริม และป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ อาหารเด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่นขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆการที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงวัยเรียนเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง และเพื่อเป็นการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันฟันผุรวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขลักษณะนิสัยที่ดี นอกจากนี้จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบว่า ร้อยละเด็กอายุ 12 ปีมีฟันผุ ในฟันแท้ ตามลำดับ ดังนี้ 43.59, 42.11 และ 40.63 โดยพบว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาลดลง แต่ยังพบว่าจังหวัดยะลามีค่าฟันผุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ดังนั้น ปัญหาเด็กฟันผุยังคงเป็นปัญหาสำคัญ ของจังหวัดยะลาที่ยังต้องดำเนินการแก้ไข ในปีงบประมาณ 2564 - 2566 มีเด็กอายุ 6 – 12 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 36.83, 16.44 และ 45.67 ตามลำดับ เด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 47.10, 26.08 และ 39.04 ตามลำดับ (HDC ข้อมูลระบบ 43 แฟ้ม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2566) ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมการส่งเสริมดูแลสุขภาพช่องปากในโครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ฝึกทักษะและแปรงฟันที่ถูกวิธี และทำให้เกิดโรคฟันผุน้อยลงจะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุ เหงือกอักเสบในช่องปากและเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เพื่อรับการรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพทางช่องปากต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยช่องปากได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะและการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายแกนนำนักเรียนมีการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
    ตัวชี้วัด : เพื่อติดตามและฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องในกลุ่มแกนนำนักเรียน (การแปรงฟันที่ถูกวิธี) หลังรับประทานอาหารกลางวัน ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3. เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด : เพื่อรักษาหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 10
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนบ้านนิบงพัฒนา)
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  (80 คน x 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน )        เป็นเงิน 5,600 บาท
    • ค่าอุปกรณ์สาธิตการแปรงฟัน    จำนวน 80 คน
        1.1 แปรงสีฟัน (ราคา 45 บาท x 80 คน)           เป็นเงิน 3,600 บาท
        1.2 ยาสีฟัน ขนาด 40 กรัม (ราคา 40 บาท x 80 คน) เป็นเงิน 3,200 บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากร 500 บาท x 5 ชม.x 1 วัน เป็นเงิน 2,500 บาท
    งบประมาณ 14,900.00 บาท
  • 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนอิสลาฮียะห์)
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวัน (80 คน x 75 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน )         เป็นเงิน 6,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (80 คน x 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน )         เป็นเงิน 5,600 บาท
    • ค่าอุปกรณ์สาธิตการแปรงฟัน  จำนวน 80 คน
              2.1 แปรงสีฟัน (ราคา 45 บาท x 80 คน)                   เป็นเงิน 3,600 บาท
          2.2 ยาสีฟัน ขนาด 40 กรัม (ราคา 40 บาท x 80 คน)         เป็นเงิน 3,200 บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากร 500 บาท x 5 ชม.x 1 วัน         เป็นเงิน 2,500 บาท
    งบประมาณ 20,900.00 บาท
  • 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มแกนนำนักเรียน (โรงเรียนญัณญาร์วิทย์)
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวัน (80 คน x 75 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน )         เป็นเงิน 6,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  (80 คน x 35 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน )         เป็นเงิน 5,600 บาท
    • ค่าอุปกรณ์สาธิตการแปรงฟัน  จำนวน 80 คน
              3.1 แปรงสีฟัน (ราคา 45 บาท x 80 คน)                   เป็นเงิน 3,600 บาท
          3.2 ยาสีฟัน ขนาด 40 กรัม (ราคา 40 บาท x 80 คน)         เป็นเงิน 3,200 บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากร 500 บาท x 5 ชม.x 1 วัน         เป็นเงิน 2,500 บาท
    งบประมาณ 20,900.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 22 ก.ค. 2567 ถึง 22 ก.ค. 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 56,700.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เพื่อให้กลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. เด็กวัยเรียนได้ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ
  3. เพื่อให้ทุกกลุ่มอายุมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและป้องกันฟันผุได้ถูกต้อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก รหัส กปท. L4143

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก รหัส กปท. L4143

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 56,700.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................