กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเพิ่มการเข้าถึงการตรวจประเมินพัฒนาการเด็กเชิงรุก ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ปกครองให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและประเมินพัฒนาการ เด็ก 0 - 5 ปี จำนวน 60 คน 1. เพื่อให้เด็กที่มีอายุครบ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ได้รับการคัดกรองประเมินพัฒนาการ 2. เพื่อให้เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม และส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่องโดยพ่อแม่

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ขั้นเตรียมการ - เตรียมบุคคล/เขียนแผนโครงการ (ประชุมแกนนำกลุ่มเด็กปฐมวัยตำบลจะแหน ร่วมกับเจ้าหน้าที่รพ.สต.วังโอ๊ะและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงโครงการ วางแผนดำเนินการ) - เตรียมจัดทำเอกสารและเตรียมวัสดุอุปกรณ์ (สื่อต่างๆที่จำเป็น เช่น

ชื่อกิจกรรม
1. ขั้นเตรียมการ - เตรียมบุคคล/เขียนแผนโครงการ (ประชุมแกนนำกลุ่มเด็กปฐมวัยตำบลจะแหน ร่วมกับเจ้าหน้าที่รพ.สต.วังโอ๊ะและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงโครงการ วางแผนดำเนินการ) - เตรียมจัดทำเอกสารและเตรียมวัสดุอุปกรณ์ (สื่อต่างๆที่จำเป็น เช่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลจะแหนจำนวน 20,000 บาท โดย  ถั่วเฉลี่ยทุกรายการรายละเอียด  ดังนี้ 1.  กิจกรรมอบรมให้ความรู้     - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน มื้อละ 60 บาท จำนวน 1 มื้อ            เป็นเงิน 3,600 บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน มื้อละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ    เป็นเงิน 4,200 บาท     - ค่าวิทยากร 600 บาท * 5 ชั่วโมง * 1 วัน                    เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าเอกสาร (คู่มือ DSPM) จำนวน 60 คน ชุดละ 50 บาท              เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.2 เมตร * 2 เมตร                             เป็นเงิน  500  บาท 2.จัดกิจกรรม “เยี่ยมบ้านเสริมพลัง”         - ค่าน้ำมันรถ 50 บาท 2 คัน25 วัน                      เป็นเงิน 2,500 บาท     - ค่าโปสเตอร์ ขนาด A3 จำนวน 250 ชิ้น                        เป็นเงิน 2,500 บาท     - ใบนัด                                   เป็นเงิน    700 บาท                             รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  20,000 บาท งบประมาณทั้งหมดสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ตุลาคม 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กอายุ 9, 18, 30 42 และ 60 เดือน เข้าถึงบริการตรวจประเมินและส่งเสริมพัฒนาการได้อย่างทั่วถึง และเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามและส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการ ส่งต่อ รักษา
  2. เด็ก 0–5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กอายุ 9, 18, 30 42 และ 60 เดือน เข้าถึงบริการตรวจประเมินและส่งเสริมพัฒนาการได้อย่างทั่วถึง และเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามและส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการ ส่งต่อ รักษา
2. เด็ก 0–5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม


>