กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเยี่ยมบ้าน เยียนใจ ชุมชนบ้านคอหงส์ 2
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์
กลุ่มคน
พ.ต.หญิง น้ำทิพย์ คงทอง ตำแหน่ง พยาบาลหัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ
3.
หลักการและเหตุผล

การพัฒนาสุขภาพและอนามัยของบุคคลเป็นองค์ประกอบและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาศักยภาพของคนทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา การพัฒนาทางด้านสาธารณสุขจึงมีส่วนสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี การดูแลสุขภาพบุคคลแบบองค์รวมเป็นสิ่งสำคัญ องค์การอนามัยโลกรายงานว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย ทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม ประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการตายเพิ่มมากที่สุดจาก 33.4 เพิ่มเป็น 40.9 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือ โรคหัวใจขาดเลือด จาก 22.4 เป็น 27.8 ต่อแสนประชากร ข้อมูลจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รายงานว่าประเทศไทยมีจำนวนคนพิการทั้งสิ้น 2.1 ล้านคน ผู้ป่วยที่มีความพิการแต่ละประเภทมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีผู้ป่วยบางรายเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จนนำไปสู่ความพิการได้ การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรในกลุ่มแม่และเด็ก ถือเป็นเป้าหมายหนึ่งที่มีความสำคัญของการพัฒนาด้านสาธารณสุข งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากรที่ควรได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ในเขตพื้นที่ค่ายเสนาณรงค์ จากผลการตรวจร่างกายประจำปีกำลังพลและประวัติการรับบริการในโรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์ในกลุ่มครอบครัว พบว่าอัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี เกิดการเสียชีวิตของกำลังพลที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงหรือพิการทางการเคลื่อนไหว อีกทั้งยังมีผู้ป่วยสภาพทางจิตใจ อยู่ในภาวะเครียดสูงทั้งตัวบุคคล หรือผู้ดูแล(care giver) และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์เด็กอายุ 0 – 3 ปีรวมไปถึงบุตรที่ต้องการพิเศษควรได้รับการดูแลอย่างเนื่อง เสริมสร้างทักษะและพัฒนาการให้เหมาะสมแก่กลุ่มเด็กเหล่านี้ให้มีพัฒนาการที่ดีขึ้น ควรตระหนักและส่งเสริมความสำคัญ ของประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเสริมพลังครอบครัว ชุมชน สังคมให้ร่วมมือกันเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ

จากการสำรวจผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, ผู้ป่วยทุพพลภาพ,กลุ่มภาวะเครียด, หญิงตั้งครรภ์, เด็กอายุ 0–3 ปี และบุตรที่มีความต้องการพิเศษ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดควรได้รับการแก้ไขปัญหาสุขภาพ และจำเป็นต้องได้รับการดูแล การให้คำแนะนำ และการติดตามการเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น การเยี่ยมบ้านถือว่าเป็นการประเมินสุขภาพของประชาชนและการป้องกันโรคแทรกซ้อน เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจในการให้บริการสาธารณสุข กิจกรรมหลักคือ การสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอาการของโรคได้ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะอยู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและภาวะเครียดสามารถควบคุมอาการของโรคให้อยู่ในเกณฑ์ได้ ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถดูแลตนเองและทารก หลังคลอดได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดไม่มีภาวะซึมเศร้า ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตัวเองได้ ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ดี ร่างกายแข็งแรง เหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ดี ร่างกายแข็งแรง เหมาะสมตามวัย ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้
    ตัวชี้วัด : บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้ ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. ประชาชนได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึง สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ป่วยทุพพลภาพ ให้พร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุขและเข้าถึงด้านได้ง่าย
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วย และผู้ดูแลมีความพึงพอใจในโครงการ ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมเยี่ยมบ้านชุมชนบ้านคอหงส์ 2
    รายละเอียด
    • ประชุดจัดแนวทางโครงการเยี่ยมบ้าน ชุมชนบ้านคอหงส์ 2
    • กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
    • จัดเตรียมอุปกรณ์เยี่ยมบ้าน แผ่นพับให้ความรู้
    • ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน สุขภาพผู้ป่วยในชุมชน ประเมินสุขภาพผู้ป่วย และภาวะจิตใจผู้ดูแล
    • ทีมสหวิชาชีพ จำนวน 7 คน ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล เภสัชกร โภชนากร นักสาธารณสุข ผู้ช่วยพยาบาล พลขับ
    • เยี่ยมบ้าน เดือนละ 2 ครั้ง ทั้งหมด 24 ครั้ง
    • ติดตามผลทุกระยะตามภาวะสุขภาพ
    • ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 7 คน x 35 บาท x 24 มื้อ เป็นเงิน 5,880 บาท
    2. ค่ากระเป๋าผ้า จำนวน 30 ใบ x 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    3. ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ผืน ขนาด 1 x 3 เมตร x 180 บาท เป็นเงิน 540 บาท
    4. ค่าเอกสารสรุปโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 10,420.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ค่ายเสนาณรงค์ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ๋ จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,420.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยทุพพลภาพ หญิงตั้งครรภ์ เด็กอายุ 0 – 3 ปี และบุตรที่มีความต้องการพิเศษ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องแบบองค์รวม ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม ให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีขึ้น
  2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมอาการของโรคได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และไม่เกิดอาการกำเริบเฉียบพลันขณะอยู่บ้าน
  3. เด็กอายุ 0 – 3 ปี มีพัฒนาการที่ถูกต้องสมวัย ร่างกายแข็งแรง
  4. บุตรที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงแหล่งสิทธิประโยชน์ และช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้
  5. ญาติหรือผู้ดูแลมีส่วนร่วม และไม่เกิดความเครียดในการดูแลผู้ป่วย
  6. ประชาชนได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึง และเข้าถึงได้ง่าย
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,420.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................