กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภคตำบลปาเสมัส ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส

1. นายปฏิวัติเด่นอร่ามคาน
2. นายอับดุลเลาะสะแลแม
3. นางสาวศรีสุดาธนูศิลป์

- ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลปาเสมัส- พื้นที่ ม. 1-8 ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

น้ำเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค ซึ่งน้ำที่นำมาใช้ต้องเป็นน้ำที่สะอาดและปลอดภัย ปราศจากการปนเปื้อนจากจุลินทรีย์ที่ก่อโรค เช่น โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ปรสิต รา เป็นต้น และรวมไปถึงสารเคมีอื่นๆอีกด้วย จากสาเหตุดังกล่าวหากประชาชนใช้น้ำที่มีการปนเปื้อนอาจก่อให้เกิดการเจ็บป่วยได้ เช่น โรคระบบทางเดินอาหาร อาหารเป็นพิษ นิ่วในไต ระบบประสาท โรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนทั้งทางร่างกายและจิตใจ ส่งผลต่อการประกอบอาชีพ อย่างไรก็ตามปะญหาเหล่านี้สามารถป้องกันได้โดยการส่งเสริมความรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ สุ่มตรวจคุณภาพน้ำอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งในพื้นที่ตำบลปาเสมัสนั้น ประชาชนส่วนใหญ่ในน้ำจากบ่อน้ำตื่นในการอุปโภค-บริโภค ซึ่งแหล่งน้ำดังกล่าวอาจจะมีการปนเปื้อนของเชื้อโรคต่างๆ
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงจัดโครงการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภคตำบลปาเสมัส ปี 2567 เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ให้มีการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในชุมชนจากแหล่งน้ำต่างๆที่ประชาชนใช้ในชีวิตประจำวัน และเพื่อให้มีการปรับปรุงคุณภาพน้ำให้เหมาะสมแก่การน้ำมาใช้ประโยชน์ของประชาชนในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมความรู้ให้แก่ประชาชนในชุมชน และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

0.00
2 เพื่อสร้างเครือข่ายอาสาสมัครเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในชุมชน

 

0.00
3 เพื่อเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์น้ำอุปโภค-บริโภคในสถานศึกษาและสำนักงานเทศบาลตำบลปาเสมัส

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2x2.0 เมตร จำนวน 1 ผืน            เป็นเงิน 600 บาท         -ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คนๆละ
        1 มื้อๆละ 80 บาท                            เป็นเงิน 4,000 บาท         -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง
        จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 35 บาท                เป็นเงิน 3,500 บาท         -แฟ้มเอกสาร พร้อมสมุด ปากกา สื่อการอบรม จำนวน 40 ชุดๆละ 40 บาท  เป็นเงิน 1,600 บาท         -ค่าสัมมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท    เป็นเงิน 3,600 บาท         -ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มในน้ำและน้ำแข็ง อ.11 สำหรับฝึกปฏิบัติ
        จำนวน 1 ชุดๆละ 1,500 บาท                        เป็นเงิน 1,500 บาท                                                                                      รวมเป็นเงิน 14,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
    1. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในพื้นที่
    2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
    3. น้ำประปาที่ใช้มีคุณภาพ ค่าคลอรีนอิสระคงเหลือ อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เป้นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14800.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มในน้ำ-น้ำแข็ง (อ.11) จำนวน 4 ชุดๆละ 1,250บาท                                             เป็นเงิน 5,000 บาท -สำลีก้อนชุบแอลกอฮอล์ 70% จำนวน 2 กล่องๆละ 450 บาท      เป็นเงิน    900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
    1. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในพื้นที่
    2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
    3. น้ำประปาที่ใช้มีคุณภาพ ค่าคลอรีนอิสระคงเหลือ อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เป้นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5900.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมตรวจคุณภาพน้ำประปา (คลอรีนต้นท่อและปลายท่อ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตรวจคุณภาพน้ำประปา (คลอรีนต้นท่อและปลายท่อ)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าชุดทดสอบอิสระคงเหลือในน้ำ อ.31 จำนวน 1 ชุดๆละ 1,250 บาท เป็นเงิน    1,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
    1. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในพื้นที่
    2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
    3. น้ำประปาที่ใช้มีคุณภาพ ค่าคลอรีนอิสระคงเหลือ อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เป้นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
2. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในพื้นที่
3. กลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค
4. น้ำประปาที่ใช้มีคุณภาพ ค่าคลอรีนอิสระคงเหลือ อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เป้นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน


>