กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเยาวชนปลอดยาเสพติด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

รพ.สต.ทุ่งใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ยังพบว่ายังมีการแพร่ระบาด จากการสำรวจพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ติดและผู้เสพยาเสพติดมากขึ้นจากเดิม ที่ผู้เสพ ส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงของวัยรุ่นและวัยทำงาน แต่ปัจจุบันพบว่ามีการเพิ

 

0.50

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลทุ่งใหญ่ 2. เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและเยาวชนในชุมชน 3. เพื่อสนับสนุนการป้องกันยาเสพติดตามนโยบายของรัฐบาล 4. เพื่อเป็นการฝึกทักษะการอยู่ร่วมกันให้กับเด็กและเยาวชน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการเยาวชนปลอดยาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
โครงการเยาวชนปลอดยาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมเด็กและเยาวชนในเขตตำบลทุ่งใหญ่ อายุระหว่าง 10 – 12 ปี เข้ารับการอบรมความรู้เรื่องยาเสพติด ทำกิจกรรมทักษะชีวิต งบประมาณ 1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม -จำนวน 50 คน/70 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
- จำนวน 50 คน/30 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน1,500บาท 3. ค่าจัดทำป้าย ขนาดความกว้าง ๑.๒๐ ม. ยาว ๒.๕ ม. จำนวน ๑ ป้ายเป็นเงิน 450บาท 4. ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน ๆละ 2 ชั่วโมง ๆละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน1,200บาท 5. ค่าเอกสารประกอบการอบรม (แฟ้มอ่อน สมุด ปากกา ดินสอ)เป็นเงิน2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,150.-บาท(-เก้าพันหนึ่งร้อยห้าสิบบาทถ้วน-) * ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ *

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เด็ก และเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้แก่ตนเอง และครอบครัว ตลอดจนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับสถานศึกษา และชุมชน
  3. เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์และเฝ้าระวังป้องกันมิให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติด
    เข้ามาสู่ชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เด็ก และเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้แก่ตนเอง และครอบครัว ตลอดจนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับสถานศึกษา และชุมชน
3. เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์และเฝ้าระวังป้องกันมิให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติด
เข้ามาสู่ชุมชน


>