กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเทพา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเทพา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กและเยาวชน

 

130.00

การจมน้ำเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งสูงมากกว่าการเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อและโรคไม่ติดเชื้อ และสูงมากกว่าอุบัติเหตุจากการจราจรถึง 2 เท่าเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มักเกิดจากการเผอเรอชั่วขณะของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก เช่น รับโทรศัพท์ เปิด-ปิด ประตูบ้าน ทำกับข้าว ซึ่งบางครั้งไม่คิดว่าแหล่งน้ำในภาชนะในบ้านจะทำให้เด็กจมน้ำได้ เนื่องจากเด็กเล็กมีการทรงตัวไม่ดี จึงทำให้ล้มในท่าศีรษะทิ่มลงได้ มักพบเด็กจมน้ำในแหล่งน้ำภายในบ้าน หรือรอบ ๆ บ้าน เช่น ถังน้ำ กะละมัง แอ่งน้ำ บ่อน้ำ ซึ่งเด็กสามารถจมน้ำเสียชีวิตได้ในแหล่งน้ำที่มีระดับความสูงเพียง 1-2 นิ้ว ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กทุกคนควรดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ควรเผอเรอแม้แต่เสี้ยววินาทีเดียว โดยเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ต้องอยู่ในระยะที่มองเห็น คว้าถึงและเข้าถึง ไม่ปล่อยทิ้งให้เด็กเล่นน้ำเองตามลำพังแม้ในกะละมัง ถังน้ำ โอ่ง ควรมีการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น เทน้ำทิ้งภายหลังใช้งาน หาฝาปิด รวมถึงการจัดพื้นที่เล่นปลอดภัยให้เด็ก กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการสอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง การสอนให้เด็ก “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” และตะโกนขอความช่วยเหลือ นอกจากนี้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก ต้องมีความรู้ในการสอนบุตรหลานให้รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง และหากเด็กจมน้ำต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการกู้ชีพ และปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธี .
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเทพาได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาการจมน้ำและการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และเป็นการป้องกันก่อนปัญหาจะเกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลเทพาขึ้นฟฟฟ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อฝึกอบรม และปฏิบัติให้ความรู้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังป้องกันเด็กจมน้ำ

 

0.00
2 เพื่อให้เห็นความสำคัญของปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ

 

0.00
3 เพื่อสร้างทักษะให้กับเด็กในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 65
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/06/2024

กำหนดเสร็จ 29/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

ชื่อกิจกรรม
เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมเพื่อวางแผนดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเพื่อวางแผนดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • กิจกรรมให้ความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันเด็กจมน้ำ
  • กิจกรรมให้ความรู้ และสาธิต วิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ โดยใช้ห่วงยาง และเสื้อชูชีพเพื่อสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้เมื่อเกิดอุบัติทางน้ำ
  • สรุปและรายงานผลการประเมินตามโครงการ รายละเอียดงบประมาณ
  • ค่าป้ายไวนิล ขนาดกว้าง1.2 เมตร x ยาว 2.4 เมตร x 150 บาท เป็นเงิน432บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร 600 บาท x 2 ช.ม. x 3 คน เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 130 คน เป็นเงิน 3,900 บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม
  • เสื้อชูชีพเด็ก (1 ตัว) เป็นเงิน 280 บาท
  • ห่วงยางชูชีพไฟเบอร์มาตรฐาน ขนาด 24 นิ้ว (1 อัน)เป็นเงิน 1,850 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มิถุนายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10062.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,062.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้และสามารถเฝ้าระวังการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยได้ .
2. ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษามีความตื่นตัวและตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตในเด็ก
ปฐมวัยจากการจมน้ำได้.
3. เด็กมีทักษะในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษาสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้


>