กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ลดขยะ ระวังโรคภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อมบ้านหน้าควน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน

ชมรมสร้างสุขภาพหมู่ที่ ๖ บ้านหน้าควน

1 นางกิ่งกาญจน์ศรีจันทร์
2 นางคนองศรีอินทองปาน
3 นางอาดูลแก้วขุนทอง
4 นางหนูภาแก้วนุ้ย
5นางชลธิชาสุกชู

หมูที่ ๖ บ้านหน้าควน ต.ตะแพน อ.ศณีบรรพต จ.พัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

 

45.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

 

50.00
3 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

 

1.00
4 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

45.00 75.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

1.00 2.00
3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

50.00 34.00
4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

30.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฎิบัติการการบริหารจัดการขยะ กิจกรรมย่อย - ประชาชนคัดแยกขยะก่อนทิ้งและนำกลับมาใช้ใหม่ 1.3 กิจกรรมย่อย - ประชาชนนำขยะที่สามารถนำกลับมาใช่ใหม่ไปจำหน่ายเพิ่มรายได้แก่ครอบครัว

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฎิบัติการการบริหารจัดการขยะ กิจกรรมย่อย - ประชาชนคัดแยกขยะก่อนทิ้งและนำกลับมาใช้ใหม่ 1.3 กิจกรรมย่อย - ประชาชนนำขยะที่สามารถนำกลับมาใช่ใหม่ไปจำหน่ายเพิ่มรายได้แก่ครอบครัว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 75 คน จำนวน 1 วัน    - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน ๗ ชั่วโมงๆ ละ ๓๐๐ บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 75 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ๖๐บาท = 4,500  บาท -ค่าอาหารว่างจำนวน 75 คนๆละ 2 มื้อๆ ละ ๒๕ บาท = 3,750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการนำกำจัดขยะมูลฝอย โดยใช้ หลักการ ๓Rsคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและ นำกลับมาใช้ใหม่ ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชน ในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม แหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือนลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ชุมชนมีจิตสำนึกในการใช้หลักการ ๓Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
2. ลดพฤติกรรมเสี่ยงอันเนื่องมาจากการกำจัดขยะมูลฝอย
3. สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่
4. ครัวเรือนมีการควบคุมและลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือน


>