กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
อสม ร่วมใจรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษในเกษตรกร หมู่5 เทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อสม.รพ.สต.บ้านปากคลอง
กลุ่มคน
1.นางสาวธีรวรรณ สนู 0636148629
2.นางจำปี วรรณะ
3.นางสุภา นิลวงค์
4.นางอาภรณ์ นวลมะโน
5.นางวิไล หนูแก้ว
3.
หลักการและเหตุผล

อันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในปัจจุบัน เนื่องจากเกษตรกรส่วน ใหญ่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกันอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเหล่านั้น ยังสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ไม่ว่าจะเป็นทางการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้ง กระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งเกษตรกรผู้ฉีดพ่นนั้นจะได้รับพิษโดยตรง แต่สำหรับผู้บริโภคจะได้รับพิษทางอ้อมจากผลผลิตทางการเกษตรที่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างปนเปื้อนอยู่ แม้ได้รับในปริมาณต่ำ แต่การที่ได้รับเป็นประจำ สารเคมีเหล่านั้นจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 90.00
  • 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือด
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือดอย่างน้อยร้อยละ 30
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 50.00
  • 3. เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
    ตัวชี้วัด : จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดลดลง ร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 30.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้ารพ.สต.บ้านปากคลอง,อสม.และผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.มะกอกเหนือ
    รายละเอียด

    ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้ารพ.สต.บ้านปากคลอง ผู้นำชุมชน และอสม.ในเขตพื้นเพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน ค้นหากลุ่มเป้าหมายจากประชาชนในพื้นที่ ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เช่น ครัวเรือนที่ใช้ยาฆ่าหญ้า ในรายที่ทำนา ทำสวน เป็นต้น

    ไม่มีงบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
    รายละเอียด

    อสม.ในพื้นที่ร่วมกันประชาสัมพันธ์โครงการอสม.รณรงค์คัดกรองหาสารเคมีในเกษตรกร หมู่ที่ 5 เขตเทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567 เพื่อทำความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายและรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. อบรมความรอบรู้สารเคมีในเกษตรกร และตรวจหาสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่
    รายละเอียด

    มี 3 กิจกรรม ในการดำเนินการ

    ช่วงที่ 1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรเรื่องการใช้สารเคมี การลดการใช้สารเคมี โทษของสารเคมี การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน เป็นต้น

    ช่วงที่ 2. รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ช่วงที่ 3.เชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ครั้งที่1 และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง จะแจ้งผลการตรวจกับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ผู้ที่มีสารตกค้างเกินมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ไม่ปลอดภัย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะจ่ายสมุนไพรรางจืด เป็นเวลา 10 วัน และติดตามผลเลือดอีก 2 วัน หลังจากรับประทานรางจืด ส่วนผู้ที่มีผลเลือด อยู่ในกลุ่มมีความเสี่ยงจะติดตามผลเลือดอีก 1 เดือน

    งบประมาณ

    -ค่าวิทยากรให้ความรู้ 3 ชมๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(สำหรับผู้เข้าอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่) 65 คนๆละ 25 บาท รวม 1 มื้อ เป็นเงิน 3,250 บาท

    -ค่าอาหารกลางวัน(สำหรับผู้เข้าอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่) 65 คนๆละ 50 บาท รวม 1 มื้อ เป็นเงิน 3,250 บาท

    -ค่าเอกสารการทดสอบความรู้-ความเข้าใจ การใช้สารเคมีก่อนและหลังเข้าร่วมอบรมชุดละ 1 บาท จำนวน 120 ชุด เป็นเงิน 120 บาท

    -ค่าเอกสารการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมการอบรม ชุดละ 1 บาท จำนวน 60 ชุด เป็นเงิน 60 บาท

    -ไวนิลโครงการ ขนาด 1.2*3 ม. ตารางเมตรละ 180 บาท เป็นเงิน 648 บาท

    -เมล็ดพันธ์พืช-เมล็ดคะน้า 40 กระป๋อง เมล็ดกวางตุ้ง 40 กระป๋อง เมล็ดผักกาดขาว 40 กระป๋อง ราคากระป๋องละ 40 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท

    • ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ บรรจุถุงละ 5 กิโลกรัม ราคาถุงละ 30 บาทจำนวน 80 ถุง เป็นเงิน 2,400 บาท

    -ชุดตรวจสารเคมีในเลือด จำนวน 2 ชุด ชุดละ 3,000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท (1ชุด ประกอบด้วย กระดาษโคลีนเอสเตอเรส,สำลีชุบแอลกอฮอสำหรับฆ่าเชื้คโรค,Blood Lancet,Micro Haematocrit tube ,Side ขนาด2.5ป7.5 ซม.Forceps,Pipette Tip with Dropper Bulb.ถาดดินน้ำมัน,Rack พลาสติกใสขนาด 6x8.5x4.5 ซม.)

    รวมงบประมาณ 22,328 บาท

    งบประมาณ 22,328.00 บาท
  • 4. ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือดไม่ปลอดภัย จากการตรวจครั้งที่ 1
    รายละเอียด

    เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือดไม่ปลอดภัย จากการตรวจครั้งที่แล้ว เพื่อติดตามหลังการให้คำแนะนำ และหลังรับประทานรางจืดจนครบ 10 วัน ในกรณีที่มีผลเลือดยังไม่ปลอดภัย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง จะให้สมุนไพรรางจืด รับประทานต่ออีก 5 วัน พร้อมนัดติดตามผลอีกครั้ง

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือด มีความเสี่ยง ครั้งที่ 2
    รายละเอียด

    เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือด มีความเสี่ยง จากการตรวจครั้งที่แล้ว เพื่อติดตามหลังการให้คำแนะนำ รวมถึงติดตามหลังจากที่ปลูกผักไว้รับประทานเองผลเลือดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

    ไม่มีงบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 6. อสม.ลงเยี่ยม ติดตาม เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ
    รายละเอียด

    อสม.ลงเยี่ยม ติดตาม เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อพูดคุยให้กำลังใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 7. สรุปโครงการและถอดบทเรียนคืนข้อมูล
    รายละเอียด

    -ประชุมคณะทำงานสรุปโครงการและถอดบทเรียนการทำงาน

    -ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน สปสช 1 เล่ม ค่าวัสดุอุปกรณเป็นเงิน 200 บาท

    งบประมาณ

    200 บาท

    งบประมาณ 200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 60 คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่5 ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 22,528.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการถั่วเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ประชาชนลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และบริโภคผักปลอดสารพิษ

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 22,528.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................