กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ปี 2567 (VR1)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ 80 ของแกนนําเยาวชนมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการ ปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ใน ระดับดี

 

80.00
2 ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมี ระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดี

 

80.00
3 ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับการดูแลสุขภาพในคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใกล้บ้านใกล้ใจ รพ.สต.บ้านปิเหล็ง

 

80.00

ยาเสพติดเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อคนทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อบุคคล ครอบครัว เศรษฐกิจ
สังคม และประเทศชาติ ยาเสพติดเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบอย่างกว้างขวางทั้งต่อปัจเจกบุคคลและสังคม ส่วนรวมในมิติ
ต่างๆ มีผลกระทบโดยตรงต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพติด โดยผู้เสพติดส่วนใหญ่จะมีบุคลิกภาพก้าวร้าว ต่อต้านสังคม
และพึ่งพาคนอื่น
เยาวชน คืออนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกําลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติด ที่ได้เริ่ม
แพร่ระบาดและกําลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติด ในปัจจุบัน เป็น
ผลให้เยาวชนหลงผิดเข้าสู่วงจรการซื้อขาย และเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสําคัญ ในการพัฒนาประเทศ และ
เป็นการทําลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศ ให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อ
ความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบําบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยัง
เป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นํามาซึ่งความรุนแรงใน
ครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีก
มากมาย ซึ่งทําให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ซึ่งปัจจุบันนี้รัฐบาลได้กําหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็น
วาระแห่งชาติ และกําหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการ
ขับเคลื่อนงานยาเสพติด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านปิเหล็ง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าโครงการ
เป็นหนึ่งโดยไม่พึงยามีความสําคัญและควรจัดให้เยาวชนมีทางออกที่ไม่ต้องพึ่งยาเสพติด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสร้างแกนนําเม็ดพันธ์ใหม่ด้านการป้องกัน ยาเสพติด

1.ร้อยละ 80 ของแกนนําเยาวชนมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการ ปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ใน ระดับดี

80.00 1.00
2 2.เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับบริการที่มีคุณภาพ

2.ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมี ระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดี

80.00 1.00
3 3.เพื่อให้ผู้ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการติดตามและดูแลสุขภาพตามมาตรฐาน

3.ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับการดูแลสุขภาพในคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใกล้บ้านใกล้ใจ รพ.สต.บ้านปิเหล็ง

80.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 55
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น”

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กําหนดการอบรม 08.30 น-09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการ อบรม 09.00 น-10.30 น. “ทบทวนจิต” 10.30 น-12.00 น. “โทษและพิษภัยของยา เสพติด” 12.00 น-13.00 น.พักรับประทานอาหาร กลางวัน 13.00 น-14.00 น. "โรคสมองติดยา" 14.00 น-15.00 น. "ตัวกระตุ้น และการ จัดการ" 15.00 น-16.00 น. “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยา เสพติด” หมายเหตุ เวลา 10.00 น-10.15 และ 14.30 น.- 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจํานวน 25 คนๆละ 25 บาท จํานวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท - ค่าอาหารกลางวันจํานวน 25 คน ๆละ 60 บาท จํานวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าวัสดุสํานักงาน เป็นเงิน 1,000 บาท 1) ค่าแฟ้มกระดุม 25 อันๆละ 20 บาท =500 บาท 2) ค่าสมุดปกแข็ง 25 เล่มๆละ 15 บาท =375 บาท 3) ค่าปากกาลูกลื่น 25 ด้ามๆละ 5 บาท =125 บาท รวมเป็นเงิน 3,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 ของแกนนำเยาวชนมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3750.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรม“เมล็ดพันธุ์ใหม่แกนนําเยาวชน” ในกลุ่มแกนนําวัยรุ่นอายุ 14-24 ปี

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรม“เมล็ดพันธุ์ใหม่แกนนําเยาวชน” ในกลุ่มแกนนําวัยรุ่นอายุ 14-24 ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้แบบสร้าง ประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะผู้นําในวัยรุ่น กําหนดการอบรม วันแรก 08.30 น - 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการ อบรม 09.00 น - 10.00 น. “รู้จักฉันรู้จักเธอ” 10.00 น - 12.00 น. “ธรรมชาติของวัยรุ่น” 12.00 น - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น - 14.30 น. “No Drug is save” 14.30 น - 15.30 น. "สมองติดยา" 15.30 น - 16.30 น. "Mini Take care team" วันที่ 2 08.30 น - 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการ อบรม 09.00 น - 09.30 น. “Recap and learn” 09.30 น - 11.00 น. “My beutiful woman” 11.00 น - 12.00 น. "รักเป็นปลอดภัย" 12.00 น - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น - 13.30 น. "รักเป็นปลอดภัย (ต่อ)" 13.00 น - 14.30 น. "TO BE NUMBER ONE" 14.30 น - 16.30 น. "Leader ship" หมายเหตุ เวลา 10.00 น-10.15 และ 14.30 น.-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจํานวน 30 คนๆละ 25 บาทจํานวน 4 มื้อ(2วัน) เป็นเงิน 3,000 บาท

  • ค่าอาหารกลางวันจํานวน 30 คนๆละ 60 บาท จํานวน 2 มื้อ(2วัน) เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จํานวน 12 ชั่วโมง(2วัน) เป็นเงิน 7,200 บาท
  • ค่าวัสดุสํานักงาน เป็นเงิน 3,865 บาท 1) กระเป๋าใส่เอกสาร 30 ใบๆละ 80 บาท = 2,400 บาท 2) ค่าสมุด 30 เล่มๆละ 15 บาท = 450 บาท 3) ค่าปากกาลูกลื่น 30 ด้ามๆละ 5 บาท = 150 บาท 4) ค่าปากกาเคมี2 หัว จํานวน 15 ด้ามๆละ 30 บาท = 450 บาท 5) ค่าสีเทียนจํานวน 6 แพ็คๆละ 30 บาท = 180 บาท 6) กระดาษฟลิปชาร์ท = 110 บาท 7) กระดาษ A4 จํานวน 1 รีม = 125 บาท รวมเป็นเงิน 17,665 บาท
  • ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1x2 เมตรx 1 แผ่น เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

2.ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18165.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,915.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.วัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลละติดตาม
2.เกิดแกนนําวัยรุ่นในพื้นที่
3.มีการขับเคลื่อนคลินิกศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น
4.เกิดการขับเคลื่อนชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชน


>