กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง รหัส กปท. L4159

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการน้ำมันไพลเพื่อสุขภาพ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจารังตาดง
กลุ่มคน
นางนูรูไซด์ ยะโต๊ะ
นางฮาสนา อาแด
3.
หลักการและเหตุผล

อาการปวดกล้ามเนื้อ เป็นกลุ่มอาการที่มักพบได้บ่อยในทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะในวัยทำงาน ทุกสาขาอาชีพ มักมีอาการปวดตามกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย โดยที่ผู้ป่วยไม่สามารถระบุตำแหน่งที่ชัดเจนได้ โดยความรุนแรงจะแตกต่างกันไปในแต่ละคน บางคนอาจมีอาการปวดเพียงเล็กน้อย เป็นครั้งคราว หายเองได้หรือปวดรุนแรงกระทั่งขยับไม่ได้ ส่วนใหญ่จะเป็นๆหายๆ เรื้อรังไม่รุนแรง แต่สามารถบั่นทอนสุขภาพจิตของผู้ป่วยได้มาก จากข้อมูลผู้รับบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจารังตาดง ในปี 2566 พบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคปวดกล้ามเนื้อ สูงสุดเป็นอับดับ 2 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ซึ่งมีปัญหาทางด้านสุขภาพเกี่ยวกับอาการปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆของร่างกายทำให้เกิดความไม่สุขสบายทางกาย ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจารังตาดง จึงเล็งเห็นความสำคัญของการนำสมุนไพรและวัสดุอุปกรณ์ที่สามารถหาได้ง่าย มาประยุกต์ใช้ ให้สามารถทำเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยบรรเทาอาการ ปวดเมื่อย โดยทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร นั้นก็คือ น้ำมันไพล ห่างไกลปวดเมื่อย ซึ่งสมุนไพรที่ใช้ได้แก่ ไพล และขมิ้นชัน มีสรรพคุณช่วยในการลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ลดอาการอักเสบ ทำให้เลือดลมไหลเวียนได้ดียิ่งขึ้น และเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เป็นศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทย นับเป็นภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทย ที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน ถือเป็นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้ ซึ่งมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจารังตาดงจึงเห็นถึงความสำคัญ และจัดทำโครงการ “การทำน้ำมันไพลเพื่อสุขภาพ” เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพเองได้ ช่วยส่งเสริมให้คนในชุมชน มีความเข้าใจในการแพทย์แผนไทย มองเห็นคุณค่าของสมุนไพรที่มีอยู่มากมายในชุมชนของตนเอง และรู้จักเลือกสรรนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ มีแนวทางในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวตามแนวทางการแพทย์แผนไทยเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้า

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทยในการรักษาโรคปวดกล้ามเนื้อ
    ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทยในการรักษาโรคปวดกล้ามเนื้อ ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถผลิตน้ำมันไพลด้วยตนเอง เพื่อรักษาโรคปวดกล้ามเนื้อ
    ตัวชี้วัด : 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถผลิตน้ำมันไพลด้วยตนเอง เพื่อรักษาโรคปวดกล้ามเนื้อ ร้อยละ 70
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 70.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้
    รายละเอียด

    -อบรมให้ความรู้ เรื่องสมุนไพรไทยรักษาอาการปวดเมื่อยในระบบกล้ามเนื้อ(จำนวน 2 รุ่นๆละ 50 คน)

    1.ค่าวิทยากร... 600..บ.x5 ชม. x 2 รุ่น = 6,000 บ.

    2.ค่าอาหารกลางวัน....60...บ.x.50.บ.. x 2รุ่น= 6,000บ.

    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม....25....บ.x…50..คน.x 2มื้อ x 2รุ่น = 5,000 บาท

    4..ค่าวัสดุในการอบรม
    4.1 ค่าแฟ้มเอกสาร จำนวน 100 แฟ้ม X 35 บาท =3,500 บาท

    4.2 ค่าปากกา จำนวน 100ด้าม X 10 บาท =1,000 บาท

    4.3 ค่าสมุด จำนวน 100 เล่ม X 15 บาท =1,500 บาท

    รวมเป็นเงิน 23,000 บาท กำหนดการอบรม
    โครงการ ทำน้ำมันไพลเพื่อสุขภาพ

    ................................................................

    08.30 น. - 09.00 น.ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรม

    09.00 น. - 12.00 น. บรรยายให้ความรู้เรื่อง สมุนไพรไทยรักษาอาการปวดเมื่อยในระบบกล้ามเนื้อ

    12.00 น .- 13.00 น. รับประทานอาหารว่าง

    13.00 น. - 15.00น.บรรยายและฝึกปฏิบัติการผลิตน้ำมันไพล ลดอาการปวดเมื่อย

    15.00 น.- 16.00 น.บรรยายให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์ลดอาการปวดเมื่อยทางแผนปัจจุบัน และผลิตภัณฑ์ลดอาการปวดเมื่อยทางแพทย์แผนไทย

    16.00 น.- 16.30 น. อภิปราย ซักถาม ข้อสงสัย


    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    หมายเหตุ รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มระหว่างการอบรม

    งบประมาณ 23,000.00 บาท
  • 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำน้ำมันไพล
    รายละเอียด

    ค่าวัสดุในการทำน้ำมันไพลจำนวน 12,200 บาท

    • ค่าสารสกัดไพล

      • การบูร

      • เมนทอล

      • น้ำมันระกำ

      • น้ำมันยูคาลิปตัส

      • ค่าขวดบรรจุน้ำมันไพล

      • ค่าสติกเกอร์ฉลากน้ำมันไพล

    งบประมาณ 12,200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 100 คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1,2,3 และ ม.7 ตำบลท่าธง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 35,200.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถ้วเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรไทยในการรักษาโรคปวดกล้ามเนื้อ ร้อยละ80 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถผลิตน้ำมันไพลด้วยตนเอง เพื่อรักษาโรคปวดกล้ามเนื้อ ร้อยละ 70

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง รหัส กปท. L4159

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง รหัส กปท. L4159

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 35,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................