กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพิชิตยุงร้าย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ป้องกันไข้เลือดออกประจำปี ๒๕๖๗

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๓.๑ เสนอโครงการฯ เพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร ๓.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการฯ ๓.๓ ดำเนินการบูรณาการกับหน่วยงาน ผู้นำชุมชน และกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น รพ.วังโอ๊ะ, อสม. , กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภา อบต.จะแหน ฯลฯ ๓.๔ จัดดำเนินงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
๓.๑ เสนอโครงการฯ เพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร ๓.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการฯ ๓.๓ ดำเนินการบูรณาการกับหน่วยงาน ผู้นำชุมชน และกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น รพ.วังโอ๊ะ, อสม. , กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภา อบต.จะแหน ฯลฯ ๓.๔ จัดดำเนินงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๖.๑ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลจะแหน  จำนวน ๓๐,๐๐๐  บาท (สามหมื่นบาทถ้วน)  โดยมีรายละเอียดกิจกรรมค่าใช้จ่าย  ดังนี้
๑.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และน้ำยาสารเคมีในการควบคุมและป้องกันโรค        ๑.๑ โลชั่นทากันยุง ๘ บาท *๗๕๐ ซอง          เป็นเงิน ๖,๐๐๘ บาท        ๑.๒ น้ำยาเคมีกำจัดยุง ๒๕% ๑,๖๕๐ บาท *๓ ขวด        เป็นเงิน  ๔,๙๕๐ บาท        ๑.๓.น้ำมันเชื้อเพลิง (น้ำมันดีเซล ๓๐.๕๔ บาท * ๑๐๐ ลิตร)    เป็นเงิน  ๓,๐๕๔ บาท        ๑.๔.น้ำมันเชื้อเพลิง (น้ำมันเบนซิน๓๔.๘๘ บาท * ๑๐๐ ลิตร)    เป็นเงิน  ๓,๔๘๘ บาท        ๑.๕. ทรายอะเบท ๑% ชนิดถัง (บรรจุซอง)             เป็นเงิน  ๕,๐๐๐ บาท        ๑.๕. ค่าจ้างเหมาในการพ่นหมอกควัน ๑๕ วันๆ ละ ๕๐๐ บาท    เป็นเงิน ๗,๕๐๐ บาท หมายเหตุ : ค่าจ้างเหมาในการพ่นหมอกควัน ๑๕ วันๆ ละ ๕๐๐ บาท (จำนวนคนพ่น ๒ คนๆละ ๒๕๐ บาท/วัน)                         รวมเป็นเงิน    ๓๐,๐๐๐  บาท     รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๓๐,๐๐๐  บาท (สามหมื่นบาทถ้วน)
หมายเหตุ  ค่าใช้จ่ายสามารถถั่วเฉลี่ยได้ทุกรายการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อด้วยแมลง เช่นโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย ของประชาชนและเด็กนักเรียนในเขตตำบลจะแหน ๒. ประชาชนตลอดจนหน่วยงานเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อด้วยแมลง ๓. ผู้นำชุมชน / ประชาชน/ มีความรู้ตลอดจนตระหนักถึงภัยของโรคติดต่อด้วยแมลง ๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรีย ได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อด้วยแมลง เช่นโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย ของประชาชนและเด็กนักเรียนในเขตตำบลจะแหน
๒. ประชาชนตลอดจนหน่วยงานเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อด้วยแมลง
๓. ผู้นำชุมชน / ประชาชน/ มีความรู้ตลอดจนตระหนักถึงภัยของโรคติดต่อด้วยแมลง
๔. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรีย ได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน


>