กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะบ้า
กลุ่มคน
นางพัชรี นุ้ยผอม
นางจิราวดี มุสิก
นางสาวจุฑาทิพย์แป้นแก้ว
3.
หลักการและเหตุผล

หลายคนอาจไม่คาดคิดว่าพฤติกรรมการใช้ชีวิตของคนเราอย่างไม่ระมัดระวัง เมื่อสะสมนานวันเข้าส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบไม่รู้ตัวได้ มาทำความรู้จักกันว่าโรคอะไรบ้างโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกชื่อภาษาอังกฤษสั้น ๆว่า โรค NCDs เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการ ติดเชื้อโรค และไม่ไดhติดต่อจากคนสู่คน โดยการสัมผัสหรือการหายใจแต่เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสมของเรากลุ่มโรค NCDs นี้ ประกอบด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน ลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ โรค NCDs เป็นโรคที่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้ ด้วยการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน จนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ ที่จะสามารถจัดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพได้ด้วยตนเอง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ(health literacy) จัดเป็นความรู้ความสามารถของบุคคลในการที่จะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพ เสาะแสวงหา สืบค้นและทำความเข้าใจ แปลความหมายข้อมูลสุขภาพที่ได้รับหรือเข้าถึงได้ จนเกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกและใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อได้นั้น หากประชาชนกลุ่มนี้ไม่ได้รับการจัดการพฤติกรรมสุขภาพจะส่งผลให้ประชากรกลุ่มมีโรคเรื้อรังตามมา คณะทำงานจึงมีมติร่วมกันว่าควรจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 2566 เพื่อส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มเสี่ยง ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสุขภาพ และทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะบ้า มีสุขภาพดี ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ มีความตระหนักและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสุงรายใหม่ 3.เพื่อสร้างเสริมบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความตระหนักและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา 179.00 เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค
    รายละเอียด

    2.1 ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่สนใจเข้าร่วมโครงการประเมินความรู้ ซักประวัติ ประเมินภาวะสุขภาพรอบเอว น้ำหนักและค่า BMI ก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยบันทึกข้อมูลลงในสมุดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจำตัวของผู้เข้าร่วมโครงการ
    2.2 จัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 2.3 ประเมินติดตามพฤติกรรม ประเมินภาวะสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว หลังเข้าร่วมโครงการ ทุกเดือนติดต่อกัน 3 เดือน 2.4 มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเต้นแอโรบิค ร่วมกัน ทุกวันจันทร์-พุธ-ศุกร์เวลา 17.00 น.ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะบ้า
    2.5 คัดเลือกบุคคลตัวอย่างที่มีการลดลงของ น้ำหนัก รอบเอว BMI ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 เดือนโดยกระบวนการของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    2.6 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะทางแก้ไขปัญหา


    งบประมาณ 1. ค่าอาหารสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเงิน 3500 บาท -จำนวน 50 คน / 70 บาท มื้อ จำนวน 1 มื้อ
    2. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเงิน 2500 บาท จํานวน 50 คน / /25 บาท / มื้อ จำนวน 2 มื้อ วันจัดโครงการ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเงิน 3750 บาท จํานวน 50 คน / 25 บาท / มื้อวันประเมินติดตาม 3 ครั้ง 3 มื้อ
    4. ค่าตอบแทนวิทยากรรายบุคคล จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท / คน เป็นเงิน 3,600 บาท 5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ เครื่องชั่งน้ำหนักพร้อมที่วัดส่วนสูง จำนวน1 เครื่อง เป็นเงิน 6650 บาท


    รวมงบประมาณเป็นเงินทั้งสิ้น 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)

    งบประมาณ 20,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 50 คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

บ้านโหล๊ะบ้า หมู่ที่ 4 ตำบลโคลงใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนได้รับการคัดกรอง
  2. ผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงในชุมชนที่ได้จากการคัดกรองได้รับการนัดหมายเพื่อตรวจซ้ำหรือได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาต่อเนื่อง
  3. ผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนมีทักษะในการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนและสามารถส่งต่อเพื่อคัดกรองได้
  4. ผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความตระหนักในความสำคัญของการดูแลสุขภาพตลอดจนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5.ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) 6.ประชากรกลุ่มเสี่ยง สามารถประเมินน้ำหนักดัชนีมวลกาย รอบเอว ได้ด้วยตนเอง และสามารถควบคุมน้ำหนักตัวได้ 7.ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีแนวทางเลือกปฏิบัติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 8.ประชากรเสี่ยง ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและครบวงจร ปรับจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................