กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน รหัส กปท. L5307

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมพัฒนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านกาเนะ
กลุ่มคน
1.นางอรุนา ตาเดอิน เบอร์โทรศัพท์ 0899784233
2.นายวาศิล ใบสาเม๊าะ เบอร์โทรศัพท์ 0898694469
3.นางยัสมี พันหวัง เบอร์โทรศัพท์ 0817987409
4.นางสาวสุไลลา ปังหลีเส็น เบอร์โทรศัพท์ 0932622550
5.นางสาวบิสมิลลา พันสกุล เบอร์โทรศัพท์ 0950233147
3.
หลักการและเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย จากการประเมินพัฒนาการเด็กทุกด้านของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาเนะ พบเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 32 คน จากเด็กนักเรียนทั้งหมด 125 คน คิดเป็นร้อยละ 25.60 ทางโรงเรียนบ้านกาเนะจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยการจัดกิจกรรมสนับสนุนกระตุ้นให้เด็กอ้วนลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง และออกไปเล่นในสนามอย่างน้อยให้ได้วันละ 60 นาทีหรือมากกว่า และจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้มีการคัดแยกขยะ ให้นักเรียนได้มีการขยับร่างกายคัดแยกขยะในโรงเรียน นำขยะที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้มาผลิตของเล่นกระตุ้นพัฒนาการเด็ก และกระตุ้นให้เด็กกินผักผลไม้มากขึ้น (ตามที่กรมอนามัยแนะนำ) โดยการได้บริโภคอาหารปลอดภัย ผักที่ปลอดสารเคมี โดยการจัดกิจกรรมปลูกผักกินเอง กรณีเด็กผอม เพิ่มอาหารเสริมให้เด็ก 1 มื้อ เช่น นมและไข่ กระตุ้นให้เด็กเล่นตามปกติ อย่างน้อยวันละ 60 นาที(ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำ และเสี่ยงตำ่กว่าเกณฑ์จำนวน 32คน
    ขนาดปัญหา 93.00 เป้าหมาย 104.00
  • 2. เพื่อให้นักเรียนบริโภคผักปลอดสารเคมี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละนักเรียนชั้นอนุบาล 2-ประถมศึกษาปีที่6 ได้บริโภคผักปลอดสารเคมี
    ขนาดปัญหา 76.00 เป้าหมาย 90.00
  • 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการคัดแยกขยะ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1-ประถมศึกษาปีที่6 มีความรู้และทักษะในการคัดแยกขยะ
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 85.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม
    1. จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (สุขภาพสมบูรณ์ด้วยไข่ต้ม)
    1.1 ครูร่วมกับผู้ปกครองเฝ้าระวังประเมินพัฒนาการเด็กทุกเดือน หากสงสัยพัฒนาการล่าช้าให้ส่งพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อคัดกรอง
    1.2 ครูร่วมกับผู้ปกครองกระตุ้นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าอย่างต่อเนื่อง 1 เดือน และประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจคัดกรองซ้ำ หากยังมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่สูงกว่า
    1.3 จัดทำฐานพัฒนาการเด็กอายุ 5-12 ปี
    2. จัดกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก
    2.1 ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุก 3 เดือน
    2.2 บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองทราบ
    2.3 จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ พบว่ามีจำนวน 32 คน
    2.4 ให้ความรู้นักเรียน
    - ความสำคัญของอาหาร อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กอ้วน อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม และอาหารที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละวัย
    - วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก
    3. ครูร่วมกับผู้ปกครองในการแก้ปัญหาเด็กน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอม โดย
    3.1 ที่โรงเรียน
    - ครูกระตุ้นให้เด็กอ้วนลดพฤติกรรมเนือยนิ่งโดยการจัดกิจกรรมสุขภาพดี โดยการบริโภคอาหารปลอดภัย ผักที่ปลอดสารเคมี โดยการจัดกิจกรรมปลูกผักกินเอง และกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะและออกไปเล่นในสนามอย่างน้อยให้ได้วันละ 60 นาทีหรือมากกว่า กระตุ้นให้เด็กกินผักผลไม้มากขึ้น (ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)
    - กรณีเด็กผอม โรงเรียนเพิ่มอาหารเสริมให้เด็ก 1 มื้อ เช่น นมและไข่ กระตุ้นให้เด็กเล่นตามปกติ อย่างน้อยวันละ 60 นาที(ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)

    รายละเอียดงบประมาณ
    1.จัดซื้อไข่ต้ม วันละ 32 ฟองๆ ละ 6 บาท จำนวน 100 วัน เป็นเงิน 19,200 บาท

    งบประมาณ 19,200.00 บาท
  • 2. กิจกรรมขยับลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
    รายละเอียด

    กิจกรรมขยับลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง โดย
    1. ให้ความรู้ เรื่อง
    1.1 ความสำคัญของการเล่นและการออกกำลัง
    1.2 วิธีการกระตุ้นให้เด็กเล่นและลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง โดยการจัดกิจกรรม
    -สุขภาพดี บริโภคอาหารปลอดภัย ผักปลอดสารเคมี
    -โรงเรียนปลอดขยะ
    กิจกรรมสุขภาพดี บริโภคอาหารปลอดภัย ผักปลอดสารเคมี งบประมาณ 2,000 บาท
    รายละเอียดงบประมาณ
    - เมล็ดผัก 500 บาท
    - มูลสัตว์ 500 บาท
    - แกลบเผา 300 บาท
    - ขุยมะพร้าว 200 บาท
    - วัสดุในการทำปุ๋ยหมัก 500 บาท

    กิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ เป็นเงิน 6,175 บาท
    1.ให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการจัดการขยะ
    - เอกสารการอบรม จำนวน 105 เล่ม ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 1,575 บาท
    - ป้ายโครงการ ขนาด 1x3 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท
    - อาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท จำนวน 105 คน เป็นเงิน 3,150 บาท
    - ค่าวัสดุอปกรณ์อื่น ๆ เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 8,175.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านกาเนะ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 27,375.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวจ่ายกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาต่ำและเสี่ยงต่ำจำนวน 30 คน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90
  2. นักเรียนบริโภคผักปลอดสารเคมี ร้อยละ 80
  3. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการคัดแยกขยะ สามารถนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ร้อยละ 90
  4. โรงเรียนบ้านกาเนะสะอาดปลอดขยะ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน รหัส กปท. L5307

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน รหัส กปท. L5307

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 27,375.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................