กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการธนาคารขยะ โรงเรียนบ้านปะดะดอ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค

โรงเรียนบ้านปะดะดอ

1. นางชาณาสุวรรณนิตย์
2. นายรอซี บินมะดาโอ๊ะ
3. นายมูฮำหมัด สาแล๊ะ
4. นางสาวโนรัยฮาน มุทานิ
5. นางสาวโสภนา ณ รังสี

หมู่ 3 โรงเรียนบ้านปะดะดอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการคัดแยกขยะมูลฝอยสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก และรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 3. เพื่อเป็นการช่วยลดปริมาณขยะ และส่งเสริมความรู้ในการใช้หลัก 3Rs ในการจัดการมูลฝอย

นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 – ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 136 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านปะดะดอ จำนวน 14 คน ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านปะดะดอทุกคน มีกิจกรรมดังนี้ 1. มีการคัดแยกขยะในโรงเรียน โดยใช้หลัก 3R
2. มีการจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียน 3. ฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 136
กลุ่มวัยทำงาน 14
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม “การคัดแยกขยะในโรงเรียน โดยใช้หลัก 3R”

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม “การคัดแยกขยะในโรงเรียน โดยใช้หลัก 3R”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมการจัดการ ขยะ การคัดแยกขยะ(นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน ทุกคนจำนวน 150 คน)
- ค่าอาหารว่าง150 x 25 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร 1,000 บาท - ป้าย/ตกแต่งสถานที 700 บาท
เป็นเงิน 5,450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 – ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 136 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านปะดะดอ จำนวน 14 คน ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านปะดะดอทุกคน มีกิจกรรมดังนี้ 1. มีการคัดแยกขยะในโรงเรียน โดยใช้หลัก 3R
2. มีการจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียน 3. ฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5450.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรม “การจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียน”

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม “การจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียน”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าจัดทำเอกสารสมุดฝากธนาคารขยะ
    เป็นเงิน 500 บาท
  • ค่าจัดทำคอกสำหรับใส่ขยะตามประเภทสีคัดแยก เป็นเงิน 11,240 บาท รวมเป็นเงิน 11,740 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 – ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 136 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านปะดะดอ จำนวน 14 คน ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านปะดะดอทุกคน มีกิจกรรมดังนี้ 1. มีการคัดแยกขยะในโรงเรียน โดยใช้หลัก 3R
2. มีการจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียน 3. ฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11740.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม “ฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก”

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม “ฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวัสดุในการจัดทำปุ๋ยหมักจากขยะมูลฝอย เป็นเงิน 11,240 บาท รวมเป็นเงิน 2,810 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 – ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 136 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านปะดะดอ จำนวน 14 คน ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านปะดะดอทุกคน มีกิจกรรมดังนี้ 1. มีการคัดแยกขยะในโรงเรียน โดยใช้หลัก 3R
2. มีการจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียน 3. ฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2810.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะโดยสามารถดำเนินกิจกรรมการับซื้อ และขายตามแผนงานที่วางไว้
2. นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาในการทำงานนักเรียนสามารถดำเนินงานได้จนประสบความสำเร็จตามโครงการ
3. โรงเรียนบ้านปะดะดอ มีธนาคารขยะที่เต็มรูปแบบ โดยมีนักเรียน ครู ผู้ปกครองและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความร่วมมือและสนับสนุนเข้าร่วมกิจกรรมทำให้โรงเรียนบ้านปะดะดอ ให้สามารถบริหารจัดการขยะได้อย่างมีระบบการจัดการโดยใช้ธนาคารขยะรีไซเคิลซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกทุกคนและยังช่วยให้โรงเรียนและชุมชนบ้านปะดะดอมีความสะอาด มากยิ่งขึ้น
4. นักเรียน ครู และผู้ปกครองในชุมชน รู้จักพัฒนาตนเองตามศักยภาพโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต
5. ท้องถิ่นเสียงบประมาณในการกำจัดขยะลดน้อยลง
6. โรงเรียนและชุมชน มีสิ่งแวดล้อมดี มีความสะอาด ปลอดโรคติดต่อ ประชาชนมีสุขภาพดี


>