กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการโรงเรียนบ้านตะโละใสปลอดขยะ ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านตะโละใส
กลุ่มคน
1.นายเกษม สะหมัดหานาย ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน

2.นางสาวสุไรม๊ะ อุศมาตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรียน

3. นางยุภา เพียรสกุลตำแหน่ง ครู คศ.3

4. นายประดิษฐ์ โสะเต่งตำแหน่งครู คศ.1

5. นายสราวุธ งะสมันตำแหน่ง ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้สนับสนุนการดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ริเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ๒๕๕๖ จนถึงปัจจุบันนั้น ถือได้ว่าเป็นโครงการที่ดีอีกโครงการหนึ่งที่จะส่งเสริมให้สถานศึกษาทั่วประเทศ ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำกลับขยะมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการรวบรวมขยะ เอาส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกฝังจิตสำนึก การลด คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา สร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียนผ่านกิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหน่วยงานหลัก ที่เกี่ยวข้องในการสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพในการให้ความรู้ สร้างเจตคดี นำไปสู่การมีความตระหนักและมีจิตสำนึกที่ดีในด้านการจัดการขยะ น้ำเสีย มลพิษทางอากาศ พลังงานและอนุรักษ์ความหลากหลายทางธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายเชิงนโยบาย ให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศ ดำเนินการเรื่องการสร้างวินัยด้านการจัดการขยะ น้ำเสีย มลพิษทางอากาศ
โรงเรียนบ้านตะโละใส เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 574 คน ปัญหาขยะมูลฝอยภายในโรงเรียนนั้นเกิดจากฝีมือมนุษย์สร้างขึ้นและเกิดจากธรรมชาติ ซึ่งสร้างมลพิษและปัญหาให้กับทางโรงเรียนได้แก่ เศษใบไม้จากต้นไม้ เศษวัชพืชที่มีอยู่ในแปลงเกษตรหรือตาม โคนต้นไม้ต่างๆ จนเกิดการสะสมอยู่เป็นจำนวนมาก บางครั้งมีมากไม่รู้จะกําจัดอย่างไรจึงปล่อยให้แห้งและเผา ซึ่งเป็นการทำลายชั้นบรรยากาศอาจส่งผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อนได้ ขยะที่เกิดจากการทิ้งของคนในชุมชน ที่เข้าไปใช้บริการเล่นกีฬาหรือทำกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียนในช่วงตอนเย็นของวันจันทร์-ศุกร์ หรือวันหยุดเสาร์อาทิตย์ เพราะบางครั้งจุดตั้งถังขยะอยู่ไกลมือจึงไม่สามารถนําไปทิ้งที่ถังขยะได้ เลยทิ้งไว้บริเวณที่ทำกิจกรรมแทน ทำให้สร้างภาระให้กับนักเรียนต้องเก็บทำความสะอาด เศษอาหารหรือเศษเปลือกผลไม้ในโครงการอาหารกลางวันที่นักเรียนรับประทานไม่หมดจนเหลือทิ้งและจากการจัดทำผลไม้ที่เป็นอาหารเสริมให้กับนักเรียนซึ่งผลไม้บางชนิดต้องปอกเปลือกรับประทานเศษเปลือกที่เหลือนําไปทิ้งโดยเปล่าประโยชน์ กล่องนม UHT หรือถุงนมพาสเจอร์ไรส์จากโครงการอาหารเสริมของโรงเรียน ถุงพลาสติกที่ใช้แล้วซึ่งมาจากจากการใส่สิ่งของจากนักเรียนหรือจากบุคลากรภายในโรงเรียน เศษวัสดุเหลือใช้จากคนในชุมชนหรือผู้ปกครองนักเรียน ซึ่งชุมชนหรือผู้ปกครองมองไม่เห็นคุณค่าทิ้งลงถัง จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบให้โรงเรียนบ้านตะโละใสมีขยะที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากที่มนุษย์สร้างขึ้น จึงได้ร่วมกันวางแผนดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยจัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ขึ้นที่บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการขยะให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ผ่านการร่วมมือกับ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู ผู้ปกครอง และนักเรียน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษา มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ การทำสื่อการเรียนการทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ ปรับปรุงภูมทัศน์ให้น่าอยู่
    ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นประถมศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ และเล็งเห็นความสําคัญ ในเรื่องการลด การคัดแยกขยะ การนําขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ ผู้ปกครองเด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นประถมศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องขยะมากขึ้น ทั้งการทำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมการจัดการขยะครู และบุคลากรทางการศึกษา สภานักเรียน และเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านตะโละใส
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนวิทยากร วันที่ 1จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 1 คนรวม 3,000บาท

    2.ค่าอาหารเที่ยง อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคุณครู บุคลากรทางการศึกษา และสภานักเรียน ที่เข้าร่วมอบรม

    ค่าอาหารเที่ยงจำนวน 80 คน คนละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ รวม 6,400 บาท

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน80คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาทรวม 4,000 บาท

    3 ค่าตอบแทนวิทยากร วันที่ 2 จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน1 คนรวม 3,000 บาท

    4 ค่าอาหารเที่ยง อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน

    ค่าอาหารเที่ยงจำนวน 77คน คนละ 80บาท จำนวน 1มื้อ รวม 6,160 บาท

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 77 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท รวม 3,850บาท

    รวมเงิน 26,410

    กำหนดการจัดกิจกรรมโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)

    “กิจกรรม อบรมการจัดการขยะ ครูและบุคลากรทางการศึกษา

    สภานักเรียน และเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านตะโละใส”

    ณ อาคารอเนกประสงค์โรงเรียนบ้านตะโละใส

    08.30-08.50 น.- ครูบุคลากรสภานักเรียนและเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม

    โดยพร้อมเพรียงกัน ณ อาคารอเนกประสงค์โรงเรียนบ้านตะโละใส

    08.50-09.00 น.- พิธีเปิด

    09.00-10.00 น.- วิทยากรบรรยายและให้ความรู้เรื่องประเภทของขยะ

    10.00-10.15 น.- พักรับประทานอาหารว่าง

    10.15-12.15 น.- วิทยากรบรรยายและให้ความรู้เรื่องการลดการคัดแยกขยะ

    12.15-13.15 น.- พักรับประทานอาหารกลางวันและปฏิบัติศาสนกิจ

    13.15-14.45 น.- วิทยากรบรรยายและให้ความรู้เรื่องการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

    14.45-15.00 น.-- พักรับประทานอาหารว่าง

    15.00-15.30 น.- วิทยากรบรรยายและให้ความรู้เรื่องการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ (ต่อ)

    15.30-16.00 น.-กิจกรรมสรุปผลและสะท้อนผล

    16.00-16.30 น. - พิธีปิด

    หมายเหตุ กำหนดการนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

    งบประมาณ 26,410.00 บาท
  • 2. กิจกรรมการประกวดสิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ นำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ผลิตสื่อการเรียน การสอนและผลิตปุ๋ยชีวภาพ
    รายละเอียด

    กระดาษการ์ดขาว จำนวน 3 ห่อๆละ 120 บาท รวม 360 บาท

    กระดาษ A4 จำนวน 2 รีมๆ ละ 150 บาท รวม 300 บาท

    กากน้ำตาล ขนาด 5 ลิตร จำนวน 5 แกลลอนแกลอนละ 100 บาท รวม 500 บาท

    EM หัวเชื้อจุลินทรีย์ ขนาด 1 ลิตร จำนวน 5 ขวด ขวดละ 100 บาท รวม 500 บาท

    ภาชนะหมักปุ๋ยชีวภาพ ถังพลาสติก 120ลิตร จำนวน 3 ถังถังละ 360 บาท รวม1,080บาท

    สมุดเบอร์ 2 จำนวน 5 เล่ม (ทำบัญชี + คุมทะเบียนเกียรติบัตร) รวม 250บาท

    รวมเงิน 2,990 บาท

    งบประมาณ 2,990.00 บาท
  • 3. กิจกรรมคัดแยกขยะ ลดขยะอินทรีย์ กินอาหาร ให้หมดไม่เหลือเศษอาหาร
    รายละเอียด

    ตะแกรงคัดแยกขยะ 5 ชุด นาด100x100x60 เซนติเมตร ชุดละ 2,000 บาท รวม 10,000บาท
    รวมเงิน 10,000บาท

    งบประมาณ 10,000.00 บาท
  • 4. ธนาคารขยะ
    รายละเอียด

    ถังพลาสติก 50 ลิตร22 ใบๆ ละ 150 บาท รวม 3,300บาท

    ตาชั่ง 5 ก.ก. 1 เครื่องรวม 630 บาท

    โรงพักขยะ 1 หลัง ขนาด 10 ตารางเมตร รวม 10,000บาท

    รวมเงิน 13,930 บาท

    งบประมาณ 13,930.00 บาท
  • 5. กิจกรรมที่ 5 แปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการนำปุ๋ยชีวภาพจากกิจกรรมผลิตปุ๋ยชีวภาพมาใช้ประโยชน์ ซึ่งทางโรงเรียนมีแปลงสาธิตการเกษตรอยู่แล้ว
    รายละเอียด

    -

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านตะโละใส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 53,330.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ครู เครือข่ายผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้เรื่องการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

  2. นักเรียนเห็นความสำคัญ สามารถปฏิบัติการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้

  3. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่นสวยงาม ปลอดขยะ และมีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 53,330.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................