กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน รหัส กปท. L5294

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน ปี 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
กลุ่มคน
๑.นางหทัยกาญจน์สันมาหมีน
๒.นางสาววนิดายาพระจันทร์
3.
หลักการและเหตุผล

ในยุคปัจจุบันโรคติดต่อที่เกิดขึ้นจากคนสู่คน หรือจากสัตว์สู่คนมีมากมายหลายโรครวมถึงการระบาดของโรคติดเชื้อต่าง ๆหรือโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วในปัจจุบันนั้นนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศและจากภาวะอากาศแปรปรวนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่(Influenza)และโรคติดต่ออื่นๆในเด็กและผู้ใหญ่ที่ป้องกันด้วยวัคซีน เช่นวัคซีนป้องกันโรควัณโรค (BCG) ,โรคไวรัสตับอักเสบบี (HB) ,โรคโปลิโอ (OPV) ,โรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (MMR), โรคคอตีบ-ไอกรน โรคบาดทะยัก-ตับอักเสบบี-ฮิบ (DTwP-HB-Hib) ,โรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิด (LAJE) ,โรคติดเชื้อไวรัสโรตา (ROTA) และโรคมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี (HPV) รวมทั้งการไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคระบาด เนื่องจากประชาชนยังขาดความตระหนักในการป้องกันโรค คิดว่าไม่มีความสำคัญ แต่เมื่อโรคเกิดขึ้นทำความสูญเสียให้กับประชาชนและภาพรวมของประเทศ ดังนั้นการป้องกัน ควบคุม และสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีน เป็นการป้องกันโรค ลดการป่วยที่รุนแรงและลดการเสียชีวิตในประชากรกลุ่มเป้าหมายได้ จึงจำเป็นที่บุคลากรทางสาธารณสุขควรตระหนักให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญต่อการกำจัดโรคและป้องกันไม่ให้ประชาชนได้รับโรคติดต่อโดยเฉพาะกลุ่มโรคที่ป้องกันได้โดยวัคซีนและโรคที่ป้องกันได้ด้วยตนเอง จากรายงานสถานการณ์โรคของศูนย์ระบาดวิทยา อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปี พ.ศ.๒๕๖๖ พบจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๓๑ รายคิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ๑๓๔.๓๙ จากรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกของรพ.สต.บ้านนาทอน ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ พบจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมีจำนวน ๑๑ รายคิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร เท่ากับ ๒๔๔.๔๕และพบผู้ป่วยโรควัณโรครายใหม่ในทุกๆปีดังนี้ปี ๒๕๖๒ ๒ ราย,ปี ๒๕๖๓ ๑ ราย, ปี ๒๕๖๔ ๒ ราย, ปี ๒๕๖๕ ๑ ราย,ปี ๒๕๖๖ ๒ ราย และในปี ๒๕๖๗ (ไตรมาสแรก) พบ ๑ รายซึ่งนับว่าเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังและต้องค้นผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเพื่อรับการรักษาให้ทันถ่วงทีเพื่อลดการติดต่อ ร่วมทั้งโรคติดต่ออื่นๆที่พบได้ในทุกๆปีเช่น ไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคในเด็กที่ป้องกันด้วยวัคซีน แล้วยังพบว่าเกิดจากสภาวะแวดล้อมของชุมชนร่วมทั้งการรับรู้เรื่องโรคของประชาชนยังน้อยซึ่งเป็นปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรค ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคติดต่อต่างๆ เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้นการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคโรคต่างๆจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชนตระหนักและเพื่อเป็นการดูแลผู้ป่วยและเฝ้าระวังโรคติดต่อที่สำคัญแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน
ดังนั้นเพื่อให้การป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวังการระบาดของโรคติดต่อ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขตำบลบ้านนาทอนจึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อและโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อเป็นการสร้างกระแสและกระตุ้นให้ประชาชนได้รับทราบและเกิดความพร้อมในการป้องกันโรค รวมทั้งให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้และมีความตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนเนื่องจากมีวัคซีนชนิดใหม่ๆเพิ่มขึ้นที่สามารถป้องกันโรคได้ พร้อมทั้งให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. ข้อที่ ๑ เพื่อให้อสม.และกลุ่มเสี่ยงวัณโรคมีความรู้และวิธีป้องกันโรคได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อสม.และกลุ่มเสี่ยงวัณโรคที่ผ่านการอบรมได้รับความรู้และวิธีป้องกันโรค ร้อยละ ๑๐๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. ข้อที่ ๒ เพื่อให้อสม.มีความรู้และทักษะการปฏิบัติในการค้นหาคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้และทักษะการปฏิบัติในการค้นหาคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ ๑๐๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. ข้อที่ ๓ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยด้วยโรควัณโรคได้รับการดูแลติดตาม
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยด้วยโรควัณโรคได้รับการดูแลติดตาม ร้อยละ ๑๐๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. ข้อที่ ๔ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไข้หวัดใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่และวิธีป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่และวิธีป้องกันโรค ร้อยละ ๙๕
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. ข้อที่ ๕ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไข้หวัดใหญ่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่
    ตัวชี้วัด : ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคไข้หวัดใหญ่ได้รับวัคซีนไม่น้อยว่าร้อยละ ๙๕
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 6. ข้อที่ ๖ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ๐-๕ ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนที่จำเป็นต้องได้รับตามเกณฑ์และการดูแลหลังรับวัคซีนต่างๆอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก ๐-๕ ปี ที่ผ่านการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนที่จำเป็นต้องได้รับตามเกณฑ์และการดูแลหลังรับวัคซีนต่างๆอย่างถูกต้อง ร้อยละ ๑๐๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 7. ข้อที่ ๗. เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๕ ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคต่างๆตามเกณฑ์อายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 8. ข้อที่ ๘. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (HI) ไม่เกิน ๑๐ อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (HI) ไม่เกิน ๑๐ อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 9. ข้อที่ ๙. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.นาทอน
    ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (CI) ให้เป็น ๐ ในเขต
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 10. ข้อที่ ๑๐. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
    ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย ลดลง กว่าปีที่ผ่านมา และอัตราป่วย ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ๑.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ๒.ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.๑, ม.๒, ม.๓, ม.๖ และ ม.๗ ต.นาทอน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. ๓.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม.
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. ๔. กิจกรรมควบคุมโรควัณโรค
    รายละเอียด

    ***๔.๑ จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม.,กลุ่มเสี่ยง ( ผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค,ผู้ป่วยเบาหวาน , ผู้ป่วยโรคHIV และผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป)จำนวน 50 คน เกี่ยวกับการ การดูแล ป้องกัน และควบคุมโรควัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ***๔.๒ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ***๔.๓ ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคพร้อมการกำกับการกินยาแบบ Dot
    - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๐ คน คนๆละ ๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน ๕๐ คน จำนวน ๒ มื้อๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท - ค่าวัสดุในการจัดอบรมจำนวน๕๐ ชุด ๆละ ๗๐ เป็นเงิน ๓,๕๐๐ บาท - ค่าเอกสารในการคัดกรองจำนวน ๑,๐๐๐ ชุด ๆละ ๒ บาท เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน ๕๐๐ บาท - ค่าวิทยากรในการอบรม๑ คน จำนวน ๕ ชม.ๆ ละ ๓๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท

    งบประมาณ 12,500.00 บาท
  • 5. ๕. กิจกรรมการดำเนินงานโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    รายละเอียด

    ๕. กิจกรรมการดำเนินงานโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ***๕.๑ โรคไข้หวัดใหญ่ - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ก่อนการให้บริการฉีดวัคซีนแก่กลุ่มเสี่ยงโรคไข้หวัดใหญ่ จำนวน 300 คน
    - บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน ๓๐๐ คนๆ ละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๗,๕๐๐ บาท (แบ่งเป็น ๓ รุ่นๆละ ๑๐๐ คน) -ค่าเอกสารคักกรอง/ใบซักประวัติผู้รับบริการฉีดวัคซีนจำนวน ๓๐๐ ชุดๆละ ๒ บาท เป็นเงิน ๖๐๐ บาท ***๕.๒ อบรมผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๕ ปี เกี่ยวกับโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่จำเป็นต้องได้รับตามเกณฑ์และการดูแลหลังรับวัคซีนต่างๆ จำนวน ๕๐ คน - ออกติดตามพร้อมทั้งรณรงค์การฉีดวัคซีนในพื้นที่ ม.๑,ม.๒,ม.๓,ม.๖,ม.๗ ต.นาทอน - ค่าอาหารกลาง จำนวน ๕๐ คน คนๆละ ๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน ๕๐ คน จำนวน ๒ มื้อๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม จำนวน ๕๐ ชุดๆละ ๗๐ บาท เป็นเงิน ๓,๕๐๐ บาท - ค่าวิทยากรในการอบรม1 คน จำนวน ๕ ชม.ๆ ละ ๓๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท

    งบประมาณ 18,100.00 บาท
  • 6. ๖.กิจกรรมรณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกย้ำยุงลายพร้อมการจัดการสิ่งแวดล้อม ในมัสยิด โรงเรียน และสถานที่ราชการใน ม.๑,ม.๒,ม.๓,ม.๖,ม.๗ ต.นาทอน
    รายละเอียด

    -ค่าป้ายไวนิลความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกป้องกันได้โดยกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยใช้มาตราการ ๕ ป ๒ ข จำนวน ๕ ป้ายๆละ ๔๐๐ บาท เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
  • 7. ๗.กิจกรรมควบคุมโรคโรคไข้เลือดออก โดยจนท.รพสต.และ จนท.จาก อบต.นาทอน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 8. ๘.สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

รพ.สต.บ้านนาทอนและพื้นที่ ม.๑, ม.๒, ม.๓, ม.๖ และ ม.๗ ต.นาทอน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 32,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. อสม.และกลุ่มเสี่ยงต่อโรควัณโรคที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และวิธีป้องกันโรค ร้อยละ ๑๐๐ ๒. อสม.มีความรู้และทักษะการปฏิบัติในการค้นหาคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ ๑๐๐ ๓. กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยด้วยโรควัณโรคได้รับการดูแลติดตาม ร้อยละ ๑๐๐ ๔. กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่และวิธีป้องกันโรค ร้อยละ ๙๕ ๕. กลุ่มเสี่ยงได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ร้อยละ ๙๕ ๖. ผู้ปกครองเด็ก ๐-๕ ปี ที่ผ่านการอบรม ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนที่จำเป็นต้องได้รับตามเกณฑ์และการดูแลหลังรับวัคซีนต่างๆอย่างถูกต้อง ร้อยละ ๑๐0 ๗. เด็กอายุ ๐-๕ ปีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ ๙๕ ๘. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่าHI) ไม่เกิน ๑๐ อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ ๙. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (ค่าCI) เป็น 0 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ ๑๐. อัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายลดลง ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน รหัส กปท. L5294

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน รหัส กปท. L5294

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 32,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................