กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปลอดบุหรี่ ผู้ใกล้ชิดปลอดภัย ผู้สูงวัยปลอดโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์

ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านโพธิ์

1.นางเสาวลักษณ์สิงหปรีชาประธาน
2.นางสาวอำพัน ลำล่อง รองประธาน
3.นายวิเชียรคงเมืองรองประธาน
4.นายปรีชาพลวัฒน์เหรัญญิก
5.นางสุนีย์พันธุเลขานุการ

1.จัดกิจกรรมอบรม ณ ห้องประชุมโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์2.จัดกิจกรรมรณรงค์ ณ พื้นที่ตำบลบ้านโพธิื ทั้ง 10 หมู่บ้าน (บ้าน วัด โรงเรียน)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบยาสูบโดยลดการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง

1.ร้อยละ 80 สามารถลดการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง

0.00
2 2.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยการสร้างพื้นที่และบุคคลต้นแบบด้านการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

2.ร้อยละ 80 ของชุมชนมีพื้นที่และบุคคลต้นแบบด้านการจัดการควบคุมยาสูบ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่ม อสม. 20
กลุ่มผู้นำชุมชน 10
กลุ่มผู้สูบบุหรี่ 30

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 18/01/2024

กำหนดเสร็จ 31/03/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้พิษภัยจากควันบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้พิษภัยจากควันบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายไวนิลขนาด 12 เมตร จำนวน 1 ป้าย ราคา 300 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อ จำนวน 101 ชุดๆละ 30 บาท เป็นเงิน 3030 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายความรู้ จำนวน 3 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1800 บาท 4.ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 100 ชุดๆละ 10 บาท เป็นงิน 1000 บาท 5.ค่าวัสดุอุปกรณ์อบรม จำนวน 100 ชุดๆละ 70 บาท เป็นเงิน 7000 บาท - กระเป๋าผ้าสกรีน ขนาด 1416 นิ้ว จำนวน 100 ใบๆละ 60 เป็ฯเงิน 6000 บาท - ปากกา จำนวน 100 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท - สมุดปกอ่อน จำนวน 100 เล่มๆละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มกราคม 2567 ถึง 30 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13130.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าสติ๊กเกอร์บ้านปลอดบุหรี่ PVC กันน้ำ ขนาด 1614 ซม. จำนวน 500 แผ่นๆละ 12 บาท เป็นเงิน 6000 บาท 2.ค่าป้ายห้ามสูบบุหรี่ ขนาด 6080 ซม. พร้อมขาตั้งติดพื้น จำนวน 10 ป้ายๆละ 1475 บาท เป็นเงิน 14750 บาท 3.ค่าชุดสมุนไพรเลิกบุหรี่ จำนวน 60 ชุดๆละ 100 บาท เป็นเงิน 6000 บาท 4.ค่าของที่ระลึกสำหรับแกนนำ จำนวน 30 ชิ้นๆละ 120 บาท เป็นเงิน 3600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มกราคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 43,480.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.สามารถคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบยาสูบโดยลดการสัมผัสควันยาสูบมือสอง
2.ทำให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนโดยมีพื้นที่และบุคคลต้นแบบด้านการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน


>