กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรักสุขภาพธรรมสอนใจ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

คณะกรรมการมัสยิดบ้านกะเชะบ้านกระเซะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากสภาพปญหาสังคมปจจุบัน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีความสลับซับซอน และเปลี่ยนแปลง
ไปอยางรวดเร็ว สงผลกระทบตอวิถีชีวิตของเราทุกคนอยางหลีกเลี่ยงไมไดหากประสบกับ ปญหาตาง ๆ แลวไมสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพของปญหาได ก็จะทําใหสภาพจิตใจเสื่อมถอยลง เกิดความเครียดมากขึ้น สงผลกระทบไปถึงชีวิตและการทํางาน ทําใหไมมีสมาธิในการทํางาน ทํางานบกพรอง และผิดพลาด ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง ดังนั้น
การจัดการกับความเครียดก็คือ การนําหลักธรรมทางศาสนามาปรับใชในการดําเนินชีวิต ทั้งชีวิตประจําวัน และชีวิต
การทํางาน สําหรับการทํางานรวมกัน ซึ่งสอดคลองกับ Happy 3 Workplace ความสมดุล ของการใชชีวิตและการทํางาน 3 ประการ ตามแนวทางของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) คือ ๑. Happy Soul (คุณธรรม)
มีความศรัทธาในศาสนาและมีศีลธรรมในการดําเนินชีวิต มีความละอาย และเกรงกลัวตอการกระทําของตน ๒. Happy Heart (น้ำใจงาม)มีทำใจเอื้ออาทรตอกันและกัน ๓. Happy Relax (ผอนคลาย) รูจักผอนคลายตอสิ่งตางๆ ในการดําเนินชีวิตและการทํางาน และผูที่สามารถประพฤติ ปฏิบัติตามหลักธรรมพหุวัฒนธรรมได ก็จะสามารถเสริมสรางพื้นฐานจิตใจใหเขมแข็ง พัฒนาสติปญญาใหมี ความรอบคอบ เมื่อทํางานแลวพบปญหาและอุปสรรคตาง ๆ สามารถตั้งรับกับ
ปญหาไดดีขึ้น คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหแกบุคลากรของ ราชบัณฑิตยสถาน
จึงจัดโครงการ “ปฏิบัติธรรมนําสุข” ขึ้น เพื่อใหบุคลากรของราชบัณฑิตยสถานไดตระหนัก และเล็งเห็นถึงความสําคัญของหลักธรรมพหุวัฒนธรรมไที่จะสามารถนํามาปรับใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน รวมถึงชีวิตการทํางานใหมีความสุขได

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อใหบุคลากรของราชบัณฑิตยสถานไดรับความรูความ เขาใจในหลักธรรมคําสอนของ พระพุทธศาสนาดียิ่งขึ้น และสามารถนํามาปรับใชในการดําเนินชีวิตประจําวันรวมถึงชีวิตการทํางานได

 

0.00
2 2. เพื่อปฏิบัติธรรมฝกจิตภาวนา ตามหลักศาสนา

 

0.00
3 เพื่อใหเปนการผอนคลายกายและจิตใจจากความเครียด

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 20/02/2024

กำหนดเสร็จ 21/02/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมรักสุขภาพธรรมสอนใจ

ชื่อกิจกรรม
อบรมรักสุขภาพธรรมสอนใจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 21 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22457.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,457.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผูเขารวมโครงการมีความรูความเขาใจในหลักธรรมทางศาสนา มีทัศนคติที่ดีในการอยูใน สังคม มีจิตในเกื้อกูล
สงบรมเย็น ทั้งเกิดความผอนคลายกายและใจจากความเครียด และสามารถนําความรูใน หลักธรรมคําสอนของศาสนามาปรับใชในการดําเนินชีวิตประจําวันรวมถึงชีวิตการทํางานไดอยางมี ความสุข


>