กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรักสุขภาพธรรมสอนใจ
รหัสโครงการ 67-L5258-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้นำศาสนามัสยิดบ้านกะเชะ
วันที่อนุมัติ 30 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 มีนาคม 2567 - 3 มีนาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 3 เมษายน 2567
งบประมาณ 22,457.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายดอเลาะ สาแม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ก.พ. 2567 21 ก.พ. 2567 22,457.00
รวมงบประมาณ 22,457.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากสภาพปัญหาสังคมปัจจุบัน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีความสลับซับซ้อน และเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของเราทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้หากประสบกับ ปัญหาต่าง ๆ แล้วไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพของปัญหาได้ ก็จะทําให้สภาพจิตใจเสื่อมถอยลง เกิดความเครียดมากขึ้น ส่งผลกระทบไปถึงชีวิตและการทํางาน ทําให้ไม่มีสมาธิในการทํางาน ทํางานบกพร่อง และผิดพลาด ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง ดังนั้น การจัดการกับความเครียดก็คือ การนําหลักธรรมทางศาสนามาปรับใช้ในการดําเนินชีวิต ทั้งชีวิตประจําวัน และชีวิต การทํางาน สําหรับการทํางานร่วมกัน ซึ่งสอดคล่องกับ Happy 3 Workplace ความสมดุล ของการใช้ชีวิตและการทํางาน 3 ประการ ตามแนวทางของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) คือ ๑. Happy Soul (คุณธรรม)
มีความศรัทธาในศาสนาและมีศีลธรรมในการดําเนินชีวิต มีความละอาย และเกรงกลัวต่อการกระทําของตน ๒. Happy Heart (น้ำใจงาม)มีทำใจเอื้ออาทรต่อกันและกัน ๓. Happy Relax (ผ่อนคลาย) รู้จักผ่อนคลายต่อสิ่งต่างๆ ในการดําเนินชีวิตและการทํางาน และผู้ที่สามารถประพฤติ ปฏิบัติตามหลักธรรมพหุวัฒนธรรมได้ ก็จะสามารถเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจให้เข้มแข็ง พัฒนาสติปัญญาให้มี ความรอบคอบ เมื่อทํางานแล้วพบปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ สามารถตั้งรับกับ ปัญหาได้ดีขึ้น คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่บุคลากรของ ราชบัณฑิตยสถาน
จึงจัดโครงการ “ปฏิบัติธรรมนําสุข” ขึ้น เพื่อให้บุคลากรของราชบัณฑิตยสถานได้ตระหนัก และเล็งเห็นถึงความสําคัญของหลักธรรมพหุวัฒนธรรมไที่จะสามารถนํามาปรับใช้ในการดําเนินชีวิตประจําวัน รวมถึงชีวิตการทํางานใหมีความสุขได

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อใหบุคลากรของราชบัณฑิตยสถานไดรับความรูความ เขาใจในหลักธรรมคําสอนของ พระพุทธศาสนาดียิ่งขึ้น และสามารถนํามาปรับใชในการดําเนินชีวิตประจําวันรวมถึงชีวิตการทํางานได

 

0.00
2 2. เพื่อปฏิบัติธรรมฝกจิตภาวนา ตามหลักศาสนา

 

0.00
3 เพื่อใหเปนการผอนคลายกายและจิตใจจากความเครียด

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 22,457.00 0 0.00
20 - 21 ก.พ. 67 อบรมรักสุขภาพธรรมสอนใจ 0 22,457.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผูเขารวมโครงการมีความรูความเขาใจในหลักธรรมทางศาสนา มีทัศนคติที่ดีในการอยูใน สังคม มีจิตในเกื้อกูล
สงบรมเย็น ทั้งเกิดความผอนคลายกายและใจจากความเครียด และสามารถนําความรูใน หลักธรรมคําสอนของศาสนามาปรับใชในการดําเนินชีวิตประจําวันรวมถึงชีวิตการทํางานไดอยางมี ความสุข

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2567 00:00 น.