กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชีวีสดใสเยาวชนรู้ทันเอดส์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

1.นางสาวอารดาใบมะอู

2.นางสาวยูวีต้า กอเส็ม

3.นางวรรณี ใบสะมะอู

4.นางดวงใจ สันเจะหมะ

5. นางรัชฎาหมซา

ตำบลสะกอมอำเภอจะนะจังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเยาวชนที่ขาดความรู้เรื่องการป้องกันเอดส์

 

80.00

จากข้อมูลปัจจุบันการติดเชื้อเอดส์ในตำบลสะกอม มีจำนวน32รายนับเป็นปัญหาสาธารณสุขและพบว่าผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้นซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอายุน้อยจากการให้การปรึกษาผู้ติเชื้อเอชไอวีพบว่าสาเหตุการติเชื้อมาจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์และการใช้สารเสพติดกลุ่มชายรักชายและเพื่อนที่ไว้วางใจและพบว่าเยาวชนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอตั้งแต่วัยเรียนส่งผลกระทบต่อเยาวชน ด้านสุขภาพกายสุขภาพจิตรวมถึงครอบครัวและชุมชนรวมถึงยังถูกตีตราจากสังคมทำให้เยาวชนผุ้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงไม่กล้ารับบริการตรวจเลือดจากปัญหาดังกล่าวศูนย์ฯจึงได้จัดทำโครงการชีวีสดใสเยาวชนรู้ทันเอดส์

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์

เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเอดส์

50.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 31/05/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันเอดส์

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันเอดส์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจำนวน2 มื้อๆละ90 ชุดๆละ30 บาทเป็นเงิน 5,400 บาท

  2. ค่าอาหารกลางพร้อมน้ำดื่มจำนวน1 มื้อๆละ90ชุดๆละ60บาท เป็นเงิน5,400บาท

  3. ค่าตอบแทนวิทยกร

    • ภาคเช้า 3 ชั่วโมงๆละ600บาทเป็นเงิน1,800บาท
  • ภาคบ่ายวิทยกรกลุ่ม3 คนๆละ2 ชั่วโมงๆละ600บาทเป็นเงิน3,600บาท
  1. ค่ากระเป๋าผ้าพร้อมสกรีนสำหรับบรรจุเอกสารจำนวน90ใบๆละ55บาท เป็นเงิน4,950บาท

  2. ปากกาจดบันทึกจำนวน90ด้ามๆละ5บาทเป็นเงิน450บาท

  3. สมุดบันทึกจำนวน90เล่มๆละ15บาทเป็นเงิน1,350บาท

7.ใบตวามรู้เรื่องเอดส์ขนาดเอ 4จำนวน90ชุดๆละ5 บาท เป็นเงิน450บาท

  1. กระดาษพรู๊ฟจำนวน15แผ่นๆละ5บาทเป็นเงิน75บาท

  2. ปากกาเคมีจำนวน9 ด้ามๆละ15บาทเป็นเงิน 135บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 1 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เยาวชได้รับความรู้ในการป้องกันเอดส์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23610.00

กิจกรรมที่ 2 รณรงค์/ประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์/ประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ขนาด1.2*2.4จำนวน3 ป้ายๆละ432บาทเป็นเงิน1,296บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 1 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีสื่อประชาสัมพันธ์เรื่องโรคเอดส์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1296.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,906.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เยาวชนในโรงเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีเกิดความตระหนักในการแก้ไขปัญหาเอดส์ในโรงเรียนและชุมชน

2. เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ที่ถูกต้องและรู้จักวิธีป้องกันการติดเชื้อลดการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มเยาวชน


>