กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม

1.นายกิตติพงษ์กาญจนูปถัมภ์
2.นางเปรมใจชูดวง
3.นางสาววรรณิสานพรัตน์
4.นางณัฐติกาพุทธพงศ์
5.นางสาวอังคณาศักดิ์ยิ้ม

หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 9 ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

 

35.00
2 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูง ตำบลฝาละมี ที่มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือสมอง (CVD Risk ≥ 20%)

 

35.00

โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับโลก เป็นสำเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของโลก มีผู้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองทั่วโลก จำนวน 101 ล้านคน เป็นผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 12 ล้านคน และเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 6.5 ล้านคน สำหรับระเทศไทย จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2566 พบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 349,126 ราย เสียชีวิต จานวน 36,214 ราย พบเพศชายมากกว่าเพศหญิง ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่มีอายุน้อยกว่า 70 ปี
โรคความดันโลหิตสูงเปนปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองที่สำคัญ เป็นอันดับ 2 จากการศึกษาฟรามิงแฮม (Framingham) พบความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative risk) ของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเมื่อปรับตามอายุ ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตมากกว่า 160/95 มม.ปรอท เทากับ 3.1 ในผู้ชาย และเท่ากับ 2.9 ในผู้หญิง นอกจากนี้ พบว่า เมื่อความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic) เพิ่มขึ้น 10 มม.ปรอท จะมีความเสี่ยงสัมพัทธ์ของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง เท่ากับ 1.9 ในเพศชาย และ 1.7 ในเพศหญิง การควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ใกล้เคียงเกณฑ์ปกติมากที่สุด ไม่เกิน 140/90 มม.ปรอท ) เป็นการแก้ไขปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งอาจใช้การปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตเพียงอย่างเดียว หรือการใช้ยาร่วมดวย การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตที่สำคัญ ได้แก่การลดน้ำหนัก การจำกัด โซเดียม ไม่เกินวันละ 2,300 มก. การรับประทานอาหารเพื่อควบคุมความดันโลหิตสูง (Dietary Approaches to Stop Hypertension: DASH) การออกกำลังกาย การจำกัดแอลกอฮอล์การใช้เทคนิคการผ่อนคลาย การหยุดสูบบุหรี่ โดยผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง บางส่วนจะเป็นโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วย เพราะถ้ามีความดันโลหิตที่สูงเป็นระยะเวลานานอาจทำให้หลอดเลือดแดงตีบแคบมากขึ้นและอุดตัน เกิดหลอดเลือดสมองตีบ หรือแตก ก่อให้เกิดความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง การควบคุมความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงให้อยูในระดับปกติ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วย ป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดสมองได้ และจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง พบว่า โรคความดันโลหิตสูงสามารถป้องกันได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่งจำเป็นต้องได้ รับการส่งเสริม หรือพัฒนาให้เกิดความรอบรู้ และทักษะในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง จึงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตัดสินใจเลือก และปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพ เพื่อป้องกันการเกิดโรค และลดจำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านควนเคี่ยม เป็นหน่วยบริการสุขภาพระดับพื้นที่ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านควนเคี่ยม ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ และป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้ในการดูแลตนเองในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองแก่กลุ่มเสี่ยงสูง

กลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 85

35.00 0.00
2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการป้องกันโรคหลอดเลือสมองได้

กลุ่มเสี่ยงสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการป้องกันโรคหลอดเลือสมองได้ ร้อยละ 85

40.00 0.00
3 เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงสูง

ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดสมองให้น้อยกว่า ร้อยละ 20

35.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดทำโครงการ และเสนอเพื่อขออนุมัติ

ชื่อกิจกรรม
1.จัดทำโครงการ และเสนอเพื่อขออนุมัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2.จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
2.จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 3.การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกนโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่่1 “ใครเสี่ยง เสี่ยงอย่างไร โรคหลอดเลือดสมองน่ากลัวหรือไม่”ในการให้ความรู้เรื่องความเสี่ยงและความรุนแรงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง

ชื่อกิจกรรม
3.การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกนโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่่1 “ใครเสี่ยง เสี่ยงอย่างไร โรคหลอดเลือดสมองน่ากลัวหรือไม่”ในการให้ความรู้เรื่องความเสี่ยงและความรุนแรงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน2,500 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน3,500 บาท 3.ค่าวิทยากร จำนวน 3 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4. ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 2 x 2.5 ตรม.ๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 แผ่นๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 5. ค่าจ้างถ่ายเอกสารแแบบประเมินความเสี่ยง แบบติดตามการดูแลสุขภาพ แบบสอบถามความรู้ ความเสี่ยงและความรุนแรงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง แลพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง (ตลอดโครงการ ตั้งแต่ให้ความรู้ การติดตาม และการประเมินผล) เป็นเงิน 2,000 บาท 6. ค่าวัสดุในการจัดทำโครงการ (ปากกา,แฟ้ม) จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน / และมีความรู้เรื่องความเสี่ยงและความรุนแรงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง อย่างน้อยร้อยละ 85

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12300.00

กิจกรรมที่ 4 4.การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 2 “ปฏิบัติดี...มีประโยชน์อย่างไร อุปสรรคมี...จัดการอย่างไร” ในเรื่่องการรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง

ชื่อกิจกรรม
4.การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 2 “ปฏิบัติดี...มีประโยชน์อย่างไร อุปสรรคมี...จัดการอย่างไร” ในเรื่่องการรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน2,500 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน3,500 บาท 3.ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน / และมีเรื่่องการรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง อย่างน้อยร้อยละ 85

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

กิจกรรมที่ 5 การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 3 “กําจัดอุปสรรค...มีวิธีปฏิบัติอย่างไร”เรื่องทบทวนและหาแนวทางปฏิบัติ ในการป้องกนโรคหลอดเลือดสมองเรื่ องติดตามและทบทวนผลการ ปฏิบัติในการป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง

ชื่อกิจกรรม
การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 3 “กําจัดอุปสรรค...มีวิธีปฏิบัติอย่างไร”เรื่องทบทวนและหาแนวทางปฏิบัติ ในการป้องกนโรคหลอดเลือดสมองเรื่ องติดตามและทบทวนผลการ ปฏิบัติในการป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน1,250 บาท 2.ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท 3.เครื่องวัดปริมาณโซเดียมในอาหาร จำนวน 2 เครื่อง ๆ ละ 1,600 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน / และมีแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5050.00

กิจกรรมที่ 6 การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 4 “ปฏิบัติได้ผลอย่างไร...ให้กําลังใจ...หาทางออก”เรื่่องติดตามและทบทวนผลการปฏิบัติในการป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง

ชื่อกิจกรรม
การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 4 “ปฏิบัติได้ผลอย่างไร...ให้กําลังใจ...หาทางออก”เรื่่องติดตามและทบทวนผลการปฏิบัติในการป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน1,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน / และมีการติดตามและทบทวนผลการปฏิบัติในการป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

กิจกรรมที่ 7 การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 5 “ปฏิบัติได้ผลอย่างไร....ให้กําลังใจถึงบ้าน” โดยติดตามเป็นกลุ่มในชุมชนและประเมินผลจากกลุ่มเสี่ยงสูง และญาติ/ผู้ดูแลในสัปดาห์ที่ 5-7

ชื่อกิจกรรม
การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 5 “ปฏิบัติได้ผลอย่างไร....ให้กําลังใจถึงบ้าน” โดยติดตามเป็นกลุ่มในชุมชนและประเมินผลจากกลุ่มเสี่ยงสูง และญาติ/ผู้ดูแลในสัปดาห์ที่ 5-7
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน1,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

การติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงสูงเป็นรายบุคคล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

กิจกรรมที่ 8 การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 6 ปฏิบัติได้ดี...มีกําลังใจ...ทําต่อไปเพื่อป้องกัน การติดตามการปฏิบัติเพื่อป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง ั โดยการออกติดตามเยี่ยมบ้านเป็นรายบุคคลในสัปดาห์ที่ 8-9 โดยกลุ่มเสี่ยงสูงจะต้องได้รับการติดตามเยี่ยมบ้

ชื่อกิจกรรม
การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองครั้งที่ 6 ปฏิบัติได้ดี...มีกําลังใจ...ทําต่อไปเพื่อป้องกัน การติดตามการปฏิบัติเพื่อป้องกนโรคหลอดเลือดสมอง ั โดยการออกติดตามเยี่ยมบ้านเป็นรายบุคคลในสัปดาห์ที่ 8-9 โดยกลุ่มเสี่ยงสูงจะต้องได้รับการติดตามเยี่ยมบ้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

การติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงสูงเป็นรายบุคคล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 9 สรุปการดําเนินกิจกรรมและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
สรุปการดําเนินกิจกรรมและประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.สรุปการปฏิบัติตามโครงการร่วมกับกลุ่มเสี่ยงสูง ญาติ/ผู้ดูแล ซักถามข้อสงสัยPost-test 2. กิจกรรม สรุปและประเมินผลโครงการร่วมกบกลุ่มเสี่ยงสูงและญาติ/ผู้ดูแล ทําแบบสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกนโรคหลอดเลือดสมองและแรงสนับสนุนทางสังคมของกลุ่มเสี่ยงสูง(Post-test)หลังโครงการศึกษา ซักถามข้อสงสัย ปิดโครงการ 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สรุปผลการดำเนินโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองมากขึ้น
2. มีโปรแกรมป้องกนโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม
3. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับนํ้าตาลและความดันโลหิตได้
4. อุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดสมองในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยมลดง


>