กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านนอก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบ้านปูตะห่างไกลโรคไข้เลือดออกด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านนอก

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6

1. นางสาวรอมือล๊ะ กาเจร์
2. นางรอปีเยาะ ดะแซ
3. นางสาวอามีเนาะ เจะเลง
4. นางสาวคอลีเยาะ เจะเลาะ
5. นางสาวรอปีซ๊ะ เจะเลาะ

หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านนอก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันถ้าจะพูดถึงสัตว์ที่เป็นพาหนะนำโรค สัตว์อันดับต้น ๆ ที่เราคิดคงไม่พ้นยุง เนื่องจากยุงเป็นพาหะนำโรคร้ายต่าง ๆ ที่คร่าชีวิตคนเป็นจำนวนมาก ยุงเป็นพาหะนำโรคหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรียเป็นต้น โดยเฉพาะไข้เลือดออกที่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การดำเนินการเพื่อตัดวงจรการเกิดโรคที่มาจากยุง จึงมีผู้คิดหาตัวยาเพื่อกำจัดและป้องกันยุงขึ้นมาหลายชนิด เช่น ครีมทากันยุง ยาจุดกันยุง ยาฉีดกันยุง น้ำมันไล่ยุง เป็นต้น แต่ยากันยุงเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย เพราะมีสารที่เป็นอันตรายผสมอยู่ ซึ่งทำให้ผู้ใช้บางคนเกิดอาการแพ้ และในตำบลบ้านนอกส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวนยางพารา ปลูกผัก ประกอบกับพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่า ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดออก เนื่องจากถูกยุงกัด นั้น
ดังนั้น เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนและเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลบ้านอก หมู่ที่ 6 ชมรม อสม. จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ไล่ยุงสมุนไพรตะไคร้หอม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสมุนไพร 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป ใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วย และส่งเสริมสุขภาพ
  1. ร้อยละละ 80 ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสมุนไพร
  2. รัอยละ 80 ประชาชนทั่วไป ใช้สมุนไพรพื้นบ้าน ในการรักษาอาการเจ็บป่วย และส่งเสริมสุขภาพมากขึ้น
0.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 13/06/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการบ้านปูตะ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน

ชื่อกิจกรรม
โครงการบ้านปูตะ ห่างไกลโรคไข้เลือดออกด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติ แก่กลุ่มประชาชนทั่วไปในการใช้สมุนไพร
2. กิจกรรมสาธิตสอน วิธีการทำ สเปรย์ตะไค้รหอมไล่ยุง แก่กลุ่มประชาชนทั่วไปพร้อมปฏิบัติ 3. กิจกรรมทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องของการใช้สมุนไพรและขั้นตอนวิธีการผลิต สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง

-ค่าป้ายโครงการขนาด 12250 บาท เป็นเงิน 500.-บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน ๆ ละ25.- บาท เป็นเงิน 1,250.-บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 คน ๆ ละ50.-บาท เป็นเงิน 2,500.-บาท -ค่าวิทยากร 4 ชั่วโมง ๆ ละ500.-บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท -ค่าวัถุดิบในการผลิตสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง     -ต้นตะไคร้หอม     -แอลกอฮอล 95 %
    -พิมเสน     -น้ำมันหอมระเหยกลิ่นตะไคร้     -ขวดบรรจุภัณฑ์     -สติ้กเกอร์ฉลากติดขวด เป็นเงิน 3,750.-บาท รวมเป็นเงิน 10,000.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชนชนทั่วไปมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของสมุนไพร
  2. ประชาชนทั่วไปสามารถใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วยและส่งเสริมสุขภาพได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชนชนทั่วไปมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของสมุนไพร
2. ประชาชนทั่วไปสามารถใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วยและส่งเสริมสุขภาพได้


>