กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย รหัส กปท. L3474

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการหมู่บ้านปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบ้านน้อย
กลุ่มคน
นางเรียมเข็มครุธ
นายศิริพันธ์ เพ็ญนคร
3.
หลักการและเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพดีของประชาชน ถือเป็นปัจจัยพื้นฐาน ในการดำรงชีวิตและพัฒนาประเทศ การส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพดี ไม่เกิดการเจ็บป่วย เป็นสิ่งสมควร ให้การสนับสนุน โดยในปีงบประมาณ 2548เป็นต้นมา รัฐบาลมีนโยบายประกาศให้มีการรณรงค์ด้านอาหารปลอดภัย เพราะฉนั้นอาหารที่ประชาชนบริโภคนั้น ต้องปลอดภัยจากการปนเปื้อนของสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพหรือก่อให้เกิดการเจ็บป่วยเฉียบพลันที่ส่งผลในระยะยาว ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนบริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงต้องมีระบบการดูแล ตรวจสอบคุณภาพที่ผลิตขึ้นทุกขั้นตอน ตั้งแต่วัตถุดิบ ( การเพาะปลูก หรือเพาะเลี้ยง ) การผลิต การแปรรูป การจัดจำหน่ายถึงผู้บริโภค ตลอดจนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการกำกับดูแล เฝ้าระวังอาหารที่ผลิตและบริโภค จากการดำเนินงานเมืองไทยแข็งแรงในปี 2550ในตัวชี้วัดเรื่องอาหาร สถานีอนามัยตำบลบ้านน้อยได้เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจเพื่อค้นหารสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ประเภท คือ ยาฆ่าแมลงสารกันรา สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ และสารฟอร์มาลิน พบยาฆ่าแมลงตกค้างในอาหารแต่ปลอดภัยจำนวน7 ตัวอย่างจากที่ส่งทั้งหมด50ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 14.00 และผลจากการตรวจเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างจำนวน323คน พบไม่ปลอดภัยจำนวน15คนคิดเป็นร้อยละ4.6 ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบ้านน้อยได้เห็นความสำคัญของนโยบายอาหารปลอดภัยและเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มเกษตรปลอดสารพิษตำบลบ้านน้อยและสนับสนุนนโยบายเมืองไทย แข็งแรงจึงได้จัดทำโครงการกินดีปลอดภัยร่างกายปลอดสารพิษขึ้น เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการกำกับดูแลเฝ้าระวังอาหารที่ผลิตและบริโภคให้มีความปลอดภัยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความตั้งใจผลิตอาหารที่ดี มีคุณภาพ และผู้บริโภคได้บริโภคอาหารและเลือกซื้ออาหารที่มีความปลอดภัยต่อตนเองและครอบครัว มีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปแบบของชมรมและยั่งยืน ประชาชนได้รับประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ส่วนรวม ไม่เจ็บป่วยจากการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือดและเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอาทิเช่น ดิน แม่น้ำ ของตำบลบ้านน้อยและหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งเป็นผลดีต่อประเทศชาติต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านแผงลอย ร้านอาหารและประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องการ เลือกซื้อและการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้ร้านชำ ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารมีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมให้มีการขยายเครือข่ายกลุ่มเกษตรปลอดสารพิษ
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านผ่านเวทีประชุมหมู่บ้านโดยมีกิจกรรมดังนี้
    รายละเอียด
    1. ให้ความรู้แก่เกษตรกร และผู้บริโภคทั่วไป และสาธิตการใช้ปุ๋ยชีวภาพแทนสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
    2. เจาะโลหิตตรวจหาสารพิษตกค้างในกระแสเลือด พร้อมทั้งแจ้งผลให้ทราบ
    3. สาธิตการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารจากร้านค้าและทดสอบสารไอโอดีนในเกลือ
    4. ประชาสัมพันธ์การต่อต้านการใช้สารเคมีและติดป้ายประชาสัมพันธ์การต่อต้านสารพิษและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลให้กับประชาชนในหมู่บ้านรับทราบผ่านเวทีการประชุมหมู่บ้าน
    5. ประสานงานกับโรงพยาบาลโพทะเลในการออกสุ่มประเมินการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและให้ความรู้เรื่องการใช้ยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ดำเนินกิจกรรมงานคุ้มครองผู้บริโภคดังนี้
    รายละเอียด
    1. ประชุมคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อวางแผนการดำเนินงานการออกตรวจร้านแผงลอยและร้านชำในตำบล
    2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและดำเนินการตามแผน
    3. ออกตรวจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการร้านชำประจำปีและให้คำแนะนำ จำนวน2ครั้ง
    4. ออกตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น และให้คำแนะนำร้านอาหารและแผงลอยจำนวน2ครั้ง
    5. เก็บตัวอย่าง ส่งตรวจยาฆ่าแมลงตกค้างในผักและสารบอแรกซ์ สารฟอกขาว สารกันราฟอร์มาลินในตำบล
    6. แจ้งผลการตรวจให้ร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ผู้ประกอบการทราบและมอบป้ายCleanfoodgoodtasteให้กับร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านเกณฑ์
    7. ประชาสัมพันธ์การเลือกซื้ออาหารที่ถูกต้องแก่ประชาชนทางหอกระจายข่าวและสื่ออื่นๆ
    งบประมาณ 23,050.00 บาท
  • 3. ส่งเสริมการขยายเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษ
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลบ้านน้อย หมู่ที่ 1-6

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 23,050.00 บาท

หมายเหตุ : 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (1 มื้อ)สำหรับประชาชนที่รับการตรวจสารพิษจำนวน160คนคนละ 25บาท เป็นเงิน 4,000.-บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 มื้อ) อาหารกลางวัน (1 มื้อ) ในการอบรมผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารจำนวน 50 คนเป็นเงิน 5,000.- บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน3,600.- บาท 4. ค่าวัสดุชันสูตร เป็นเงิน8,000.-บาท 3.ค่าอาหารสำหรับคณะกรรมการในการออกตรวจคนละ 100 บาท*10*2 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท 4.ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน450.- บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 23,050.-บาท หมายเหตุ:ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
  2. มีกลุ่มผู้ประสานงานเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษ
  3. มีการเฝ้าระวังงานคุ้มครองผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง
  4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหาร และแพ้สารเคมีทางการเกษตร
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย รหัส กปท. L3474

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย รหัส กปท. L3474

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 23,050.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................