กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา รหัส กปท. L2979

อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการชุมชนทุ่งพลาเรียนรู้เท่าทันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ในเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปี 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา
3.
หลักการและเหตุผล

ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในชุมชน เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันโรคในชุมชน ต่อโรคติดต่อที่สามารถป้องกันโดยวัคซีน ที่ผ่านมาจะพบว่า 3 จังหวัดชายแดนใต้ มีความครอบคลุมวัคซีนที่ต่ำกว่าเกณฑ์ และพบว่าในช่วงเดือน สิงหาคมพ.ศ.2666 มีเด็กแรกเกิด อายุ 18 วัน อาศัยอยู่ที่อำเภอหนองจิก คลอดที่รพ.ปัตตานี ติดเชื้อไอกรนเสียชีวิต ซึ่งเด็กได้รับเชื้อก่อนช่วงวัยที่ต้องได้รับวัคซีน วัคซีนป้องกันไอกรน จะเริ่มฉีดครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ 2 เดือน จากเหตุการณ์ สามารถสังเกต และคาดการณ์ว่าเด็กอาจจะสัมผัสผู้ป่วยที่รับเชื้อไอกรน จากการลวสอบสวนโรค ไม่มีคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคไอกรน โรคไอกรนสามารถพบได้ในทุกช่วงอายุ แต่มักไม่พบในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 1 ปี เนื่องจากเด็กในช่วงอายุนี้ได้ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคจากแม่แล้วและมีโอกาสสัมผัสโรคน้อย ในประเทศที่ยังไม่พัฒนามักจะพบโรคไอกรนในเด็กเล็กได้มาก อาจเป็นเพราะเด็กอาจยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคนั่นเอง แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะพบอุบัติการณ์ของโรคไอกรนได้น้อย ซึ่งวัคซีนขั้นพื้นฐานทุกชนิด และข้อมูล ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2566 จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี พบว่ามีการระบาดของโรคไอกรน มีผู้ป่วยจำนวน 44 รายทั้งจังหวัด เสียชีวิต 1 ราย อำเภอโคกโพธิ์ ไม่พบผู้ป่วย และเสียชีวิต แต่ทั้งนี้ก็ต้องฉีดวัคซีนเด็กอายุ 0 – 5 ปีให้ครอบคลุมมากที่สุด จากการแก้ปัญหาเรื่องวัคซีนที่ผ่านมา มีอัตราการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น ในปีงบประมาณ 2566 พบเด็กตำบลทุ่งพลา ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.67 ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.67 ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 56.41 ได้รับวัคซีนทุกชนิดครบตามเกณฑ์อายุ 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 56.41 (ข้อมูล HDC จะงหวัดปัตตานี) แต่การจะสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีต้องมีภูมิคุ้มกันชุมชน ที่ร้อยละ 95 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี มีเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 5 หมู่บ้าน อยู่ในเขตการปกครองของ อบต.ทุ่งพลา จากรายงานการเฝ้าระวังโรค ของสำนักระบาดวิทยาในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2563-2565) และ ในปี 2566 ล่าสุด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 พบว่า ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน จากการสำรวจ สอบถามและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าเด็กหมู่ที่ 1 และ 3 มีอัตราขาดนัด และปฏิเสธวัคซีนมากที่สุด สามารถสรุปปัญหาได้ดังนี้ 1. วัคซีนไม่จำเป็นต้องฉีด เพราะไม่ฉีดลูกก็ไม่ป่วย 2. ไม่เห็นความสำคัญในการควบคุมโรคติดต่อ 3.ลืมวันนัดที่ต้องฉีดวัคซีน 4.ปู่ ย่า ตา ยาย มีอิทธิพล ไม่อยากให้พามาฉีดวัคซีน 5.การเสพสื่อ Social ในทางที่ผิดเรื่องการรับวัคซีน ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จึงเห็นความสำคัญในการเสริมสร้างซักซ้อมความเข้าใจเรื่องวัคซีนในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี และผู้นำชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพ เพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
    ขนาดปัญหา 75.00 เป้าหมาย 95.00
  • 2. เพื่อให้แกนนำชุมชนเข้ามีส่วนร่วม และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจ มีแนวทางการดำเนินงานวัคซีนร่วมกัน
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 100.00
  • 3. เพื่อพัฒนาทักษะเครือข่ายสาธารณสุขความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
    ตัวชี้วัด : เกิดชุมชนต้นแบบ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ชุมชนปลอดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 100.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแกนนำชุมชน และผู้ปกครอง
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 53  คนๆละ 60 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,180 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 53 คนๆละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,710 บาท
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืนละ 720 บาท เป็นเงิน 720 บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์การอบรม  จำนวน 53 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,650 บาท
    งบประมาณ 13,860.00 บาท
  • 2. รณรงค์เชิญชวนพาบุตรหลานมาสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้ครอบคลุม
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25  คนๆละ 60 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คนๆละ 35 บาท  2 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 2 ผืนๆละ 720 บาท เป็นเงิน 1,440  บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์สื่อแผ่นพับเรื่องวัคซีน  จำนวน 50 ชุดๆละ 10 บาท เป็นเงิน 500  บาท
    งบประมาณ 5,190.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 25 คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 53 คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2024 ถึง 30 กันยายน 2024

8.
สถานที่ดำเนินการ

ต.ทุ่งพลา อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 19,050.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. แกนนำชุมชนมีส่วนร่วมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  2. ความครอบคลุมวัคซีนในเด็กแรกเกิด – 5 ปี เพิ่มขึ้น
  3. แกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา รหัส กปท. L2979

อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา รหัส กปท. L2979

อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 19,050.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................