แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง รหัส กปท. L3406
อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
โรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease; CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย โดยสาเหตุของโรคที่พบบ่อย ได้แก่ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยโรคเบาหวานเป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุด คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมาคือโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 25.6 โรคไตเรื้อรังในระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยไม่ทราบว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง โดยมักตรวจพบเมื่อโรคดำเนินไปมากแล้วหรือเข้าสู่โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (end stage renal disease) อีกทั้งการที่ไม่มีอาการผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยบางกลุ่มขาดความตระหนักต่อความรุนแรงของโรค จึงละเลยการดูตนเอง ไม่ค่อยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต บางกลุ่มเข้าใจว่าโรคไตที่ดำเนินอยู่เกิดจากการรับประทานยารักษาโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูงเป็นเวลานาน จึงแสวงหาหนทางในการดูแลตัวเอง ตามการรับรู้ หรือทัศนคติของตนเอง ได้แก่การรับประทานอาหารชีวจิตที่มีโปรตีนจากพืชและมีแคลเซียมฟอสเฟอรัสสูง หรือรับประทานสมุนไพรที่มีแร่ธาตุความเข้มข้นสูง เป็นการแก้ไขที่ไม่สอดคล้องกับพยาธิสภาพของโรค เพราะการรับประทานต่อเนื่องเป็นเวลานานเนื้อไต จะถูกทำลาย ทำให้โรคดำเนินไปอย่างรวดเร็วเข้าสู่ระยะสุดท้ายที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต (Thai Renal Replacement Therapy : RRT)การรักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทำให้รัฐบาลต้องใช้ทรัพยากรบุคคลและเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาปีละกว่า 20,000 ล้านบาท โดยเป้าหมายที่สำคัญในการรักษา โรคไตเรื้อรัง คือ การป้องกันการเสื่อมของไตไม่ให้เข้าสู่ภาวะโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายและการป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ดังนั้นการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรก เพื่อควบคุมปัจจัย เสี่ยงและให้การดูแลรักษาอย่างทันท่วงที จึงนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งจากข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลท่านั่ง ปี 2564-2566 โดยในปี 2564 มีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 จำนวน 163 คน , ระยะที่ 2 จำนวน 223 คน , ระยะที่ 3 จำนวน 57 คน, ปี 2565 มีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 จำนวน 103 คน , ระยะที่ 2 จำนวน 225 คน , ระยะที่ จำนวน 55 คนและ ปี 2566 พบว่า เป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 จำนวน 99 ราย, ระยะที่ 2 จำนวน 179 ราย, ระยะที่ 3a จำนวน 104 ราย, ระยะที่ ๓b จำนวน 52 ราย, ระยะที่ 4 จำนวน 13 ราย, ระยะที่ 5 จำนวน 3 ราย ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้มากยิ่งขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง จึงได้จัดทำโครงการชะลอภาวะไตเสื่อมในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 2 ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยในระยะแรกเริ่มได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อชะลอความเสื่อมของไตและลดโอกาสต่อการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย หากประสบความสำเร็จก็จะขยายไปสู่กลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 ตลอดจนประชาชนกลุ่มอื่น ๆ ต่อไป
- 1. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอข้ออนุมัติรายละเอียดงบประมาณ 0.00 บาท
- 2. กิจกรรม ค้นหากลุ่มเป้าหมาย และตรวจค่า eGFR (อัตราการกรองของไต) ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายละเอียดงบประมาณ 0.00 บาท
- 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ เกี่ยวกับการชะลอภาวะไตเสื่อม ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ระยะที่ 2รายละเอียด
ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 1 วัน จำนวน 60 คนๆละ100 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท สื่อโมเดลอาหารผู้ป่วยโรคไต จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 4,900 บาท เครื่องตรวจวัดความเค็ม จำนวน 6 เครื่องๆละ 2,400 บาท เป็นเงิน 14,400 บาทงบประมาณ 28,900.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
รวมงบประมาณโครงการ 28,900.00 บาท
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้และทักษะในเรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารรสเค็ม และใช้ยาอย่างปลอดภัย สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถลดระดับค่า eGFR (อัตราการกรองของไต) ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ให้มีค่า eGFR (อัตราการกรองของไต) ดีขึ้น
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง รหัส กปท. L3406
อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง รหัส กปท. L3406
อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................