กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง รหัส กปท. L3065

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
คลองรี ปลอดโรคขาดสารไอโอดีน ปี 67
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 1 ตำบลตุยง
กลุ่มคน
1…นางฮะสือนะ มะเซ็ง.................…………………
2…นางมารียะห์ เจ๊ะอาแซ.....…………………………
3…นางจินดาพร ขวัญไฝ………………………………
4…นางคอลีเยาะ บือราเฮง…………………………..
5…นางปิอะ ดอเลาะ…………………………………..
3.
หลักการและเหตุผล

โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนเป็นโครงการในพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเพื่อแก้ปัญหาการระบาดของโรคคอพอกทรงริเริ่มด้วยการรณรงค์ให้มีการใช้เกลือไอโอดีนหรือหยดไอโอดีนในการประกอบอาหารและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีน“โรคขาดสารไอโอดีน” เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมีผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาประเทศเนื่องจากไอโอดีนมีความสัมพันธ์กับสติปัญญาของมนุษย์โดยเป็นสารตั้งต้นในการสร้างฮอร์โมนธัย-รอยด์ซึ่งมีผลต่อการสร้างใยสมองและการเจริญเติบโตของร่างกาย การขาดสารไอโอดีนส่งผลกระทบในวงกว้างและกลุ่มที่มีผลกระทบมากจากการขาดสารไอโอดีนคือหญิงตั้งครรภ์หากขาดสารไอโอดีนลูกที่คลอดออกมามีโอกาสเสี่ยงที่จะมีความพิการหรือปัญญาอ่อนกลุ่มทารกแรกเกิดจะมีผลต่อความเฉลียวฉลาดและการเจริญเติบโตของเด็กถ้าขาดสารไอโอดีนจะมีอาการทางสมองทำให้เกิดภาวะปัญญาอ่อนซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้จึงจำเป็นที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนให้หมดไปจากเมืองไทย เพื่อแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนในหมู่บ้านการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคชาดสารไอโอดีนในหมู่บ้าน ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพของครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของครัวเรือนในหมู่บ้านคลองรีมีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน
    ขนาดปัญหา 103.00 เป้าหมาย 52.00
  • 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กไอคิวและพัฒนาการสมวัยลดลง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 เด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่ มีไอคิวและพัฒนาการสมวัย
    ขนาดปัญหา 28.00 เป้าหมาย 27.00
  • 3. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะขาดสารไอโอดีน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ไม่มีภาวะขาดสารไอโอดีน
    ขนาดปัญหา 11.00 เป้าหมาย 11.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมส่งเสริมให้ความรู้
    รายละเอียด

    จัดอบรมให้ความรู้ความรู้เรื่องสารไอโอดีน แก่ชาวบ้านในหมู่บ้านคลองรี และหมู่บ้านใกล้เคียงเพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของสารไอโอดีน และใช้เกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน และร้านจำหน่ายอาหาร งบประมาณ
    - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 50 คน x 60 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารว่าง เครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 35 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 3,500 บาท - ค่าวิทยากร 4 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าป้ายไวนิลในการประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมโครงการเป็นเงิน 720 บาท

    งบประมาณ 9,620.00 บาท
  • 2. รุกชุมชน ตรวจสารไอดีน
    รายละเอียด

    ตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนจาก สถานที่จำหน่าย ร้านอาหาร และครัวเรือนในหมู่บ้าน งบประมาณ - ค่าชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน เป็นเงิน 5,000 บาท

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
  • 3. ประชุมเครือข่ายสุขภาพและคณะทำงาน เพื่อ สรุป ประเมินผลโครงการ
    รายละเอียด

    ประชุมเครือข่ายสุขภาพและคณะทำงาน เพื่อ สรุป ประเมินผลโครงการ
    งบประมาณ
    - ค่าอาหารว่าง เครื่องดื่ม มื้อละ 35 บาท x 8 คน x 3 ครั้งเป็นเงิน840 บาท

    งบประมาณ 840.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 15 คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 40 คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 200 คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1 บ้านคลองรี ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 15,460.00 บาท

หมายเหตุ : วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1) ขับเคลื่อนมาตรการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนระดับหมู่บ้าน 1.1 กำหนดนโยบาย/มาตรการการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรและมีการสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องและประชาชนทราบ 1.2 จัดประชุมถ่ายทอดความรู้และทำความเข้าใจเรื่องการป้องกันและโรคขาดสารไอโอดีนแก่ประชาชนในหมู่บ้าน 1.3 ตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนจาก สถานที่จำหน่าย ร้านอาหาร และครัวเรือนในหมู่บ้าน 1.4 กำหนดกติกาชุมชน “ไม่บริโภคเกลือเสริมไอโอดีนที่ไม่ได้คุณภาพ ” 2) ดำเนินมาตรการเสริมไอโอดีน 2.1 การเสริมไอโอดีนในอาหาร โดยรณรงค์ให้บริโภคเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพในปริมาณที่เหมาะสม 2.2 การเสริมอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ โดยความร่วมมือกับกลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลหนองจิก 3) รับการตรวจประเมินหมู่บ้านไอโอดีน และมอบป้ายหมู่บ้านไอโอดีน 4) สรุปผลการดำเนินงานโครงการชุมชนหมู่บ้านไอโอดีนเพื่อการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องสารไอโอดีน ตระหนักถึงความสำคัญของสารไอโอดีน และใช้เกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน และร้านจำหน่ายอาหาร
    1. ร้านค้า/ร้านขายของชำในหมู่บ้านมีการจำหน่ายเกลือเสริมไอโอดีน
    2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับสารไอโอดีนที่เพียงพอ
    3. เด็กทารกแรกเกิดไม่ขาดสารไอโอดีน
    4. ครัวเรือนได้รับการส่งเสริมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพ
    5. เด็กในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านคลองรี ตำบลตุยงมีไอคิวและพัฒนาการสมวัยที่ดีขึ้น
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง รหัส กปท. L3065

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง รหัส กปท. L3065

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 15,460.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................