กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค หมู่ที่ 8 บ้านโหล๊ะเหรียง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านโหล๊ะเหรียง

1. นางเยาวเรศเรืองสังข์
2. นายเดชาอาดเก
3. นายสมานสมันนุ้ย
4. นางวลัยลักษณ์ขำนุรักษ์
5. นางสาวหนับเซาะบิลหมัด

หมู่ที่ 8 บ้านโหล๊ะเหรียง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด และพบว่าคนในชุมชนมีจำนวนผู้ป่วยโรคดังกล่าวมากขึ้น ต้องรับการรักษาตลอดชีวิตสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ โดยต้นเหตุของปัญหาดังกล่าวนั่นเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม อาการที่มีการปนสารเคมีหรือผลไม่ที่มีสารพิษตกค้างเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี การรับประทานผัก อาหารที่มีกากใยสูง อาหารที่มีเบต้า แคโรทีน วิตามินเอ วิตามินซีสูงซึ่งสามารถรับประมานได้จากผัก ผลไม้ โดยฉพาะผักปลอดสารพิษทีสามารถปลูกรับประทานเองได้ในครัวเรือน ถือเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถป้องกันปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดและเป็นการแก้ที่ต้นเหตุอย่างยั่งยืน โดยเน้นการให้สุขศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการบริโภคผัก และการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษ 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในชุมชน
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
  2. มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในชุมชนไม่น้อยกว่า 10 แห่ง
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังดำเนินโครงการ (ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต ตรวจสารเคมีในเลือด)

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังดำเนินโครงการ (ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต ตรวจสารเคมีในเลือด)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าชุดตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด จำนวน 1 ชุด  เป็นเงิน 1,805 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 2. มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในชุมชนไม่น้อยกว่า 10 แห่ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1805.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ และการรับประทานอาหาร

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ และการรับประทานอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 1 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 30 คน
    เป็นเงิน 750 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท  เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าเช่าเครื่องเสียง จำนวน 1 วัน   เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.25 เมตร x 2.40 เมตร จำนวน 1 ป้าย  เป็นเงิน 600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
  2. มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในชุมชนไม่น้อยกว่า 10 แห่ง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4750.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • พริก จำนวน 150 ต้นๆละ 5 บาท  เป็นเงิน 750 บาท
  • มะเขือ จำนวน 150 ต้นๆละ 5 บาท เป็นเงิน 750บาท
  • ค่าเมล็ดพันธ์ผัก เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ซองละ 25 บาท จำนวน 30 ซอง  เป็นเงิน 750    บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
  2. มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในชุมชนไม่น้อยกว่า 10 แห่ง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,805.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ
2. กลุ่มเป้าหมายมีผักปลอดสารพิษรับประทานในครัวเรือน


>