กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

เติมยา เติมคุณค่า อสม.ยามู

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง

ฝ่ายเภสัชกรรม โรงงพยาบาลยะหริ่ง

ม.1 , ม.2 ตำบลยามู (พื้นที่รับผิดชอบเทศบาลตำบลยะหริ่ง)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรงพยาบาลยะหริ่ง มีการจัดระบบบริการแบบคลินิกเติมยาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างคลินิกโรคเรื้อรังและฝ่ายเภสัชกรรม โดยมีตำบลยามู เฉพาะเขตเทศบาลตำบลยะหริ่งเป็นพื้นที่เรียนรู้และนำร่อง ด้วยความเข้มแข็ง ขจากการดำเนินงานป

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาศัยกภาพ อสม. ให้เป็น smart อสม. – RDU ดักจับปัญหาการใช้ยาในชุมชน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการติดตามการใช้ยาโดยเครือข่าย อสม. อย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านการใช้ยาแก่ผู้ป่วยในคลินิกเติมยาให้สามารถส่งต่อความรู้สู่ชุมชน
  1. จำนวนครั้งของการดักจับปัญหาด้านยาในชุมชน โดย อสม.
  2. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยในคลินิกเติมยาได้รับการติดตามการใช้ยา โดย อสม.ร่วมกับเภสัชกร
  3. ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยในคลินิกเติมยา มีคะแนนประเมินมากกว่าร้อยละ 70 ของแบบทดสอบ
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 20/05/2024

กำหนดเสร็จ 31/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ขยายการให้บริการผู้ป่วยในคลินิกเติมยาตำบลยามู

ชื่อกิจกรรม
1. ขยายการให้บริการผู้ป่วยในคลินิกเติมยาตำบลยามู
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 ประชุมทบทวนการดำเนินงาน และแนวทางการขยายการให้บริการในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ แก่ทีมสหวิชาชีพใน รพ. , ทีม pcuและเครือข่าย RDU กลุ่มเป้าหมาย: ทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลยะหริ่ง จำนวน 10 คน , ทีมจนท.PCU , ทีม อสม.และเครือข่าย RDU รวมจำนวน 20 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 คนๆละ 30 บาท2 มื้อ2 ครั้ง เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 20 คนๆละ 60 บาท 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าจัดทำสื่อขั้นตอนการให้บริการเติมยาในคลินิกเติมยา เป็นเงิน5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 พฤษภาคม 2567 ถึง 7 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.จำนวนผู้ป่วยที่ถูกคัดเลือกเข้าคลินิกเติมยา ปี 2567 2. รูปแแบของการให้บริการในคลินิกเติมยา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9800.00

กิจกรรมที่ 2 2.พัฒนาศักยภาพ อสม. มุ่งสู่ “สมาร์ท อสม.-RDU”

ชื่อกิจกรรม
2.พัฒนาศักยภาพ อสม. มุ่งสู่ “สมาร์ท อสม.-RDU”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยและยาที่ใช้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และระบบการติดตามผู้ป่วยผ่าน line official : VAS Yaring กลุ่มเป้าหมาย  : ทีมสหวิชาชีพ , ทีม จนท.pcu จำนวน 10 คน และตัวแทน อสม.แต่ละชุมชน จำนวน 30   คน รวม 40 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คนๆละ 30 บาท  2 มื้อ  1 ครั้ง            เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 40 คนๆละ 60 บาท  ครั้ง                                    เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสาร                                                      เป็นเงิน 4,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มิถุนายน 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของ อสม.ที่เข้าร่วมอบรมมีการบันทึกกิจกรรมการติดตามการใช้ยา ผ่าน line official

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9300.00

กิจกรรมที่ 3 3. สร้างชุดความรู้ด้านยาแก่สมาร์ท อสม.-RDU ประกอบการให้ความรู้และติดตามผู้ป่วย

ชื่อกิจกรรม
3. สร้างชุดความรู้ด้านยาแก่สมาร์ท อสม.-RDU ประกอบการให้ความรู้และติดตามผู้ป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 ทบทวนความรู้ที่ อสม.จำเป็นต้องใช้ในการค้นหา จัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาผู้ป่วย และองค์ความรู้ที่ต้องเสริมพลังให้ผู้ป่วยสามารถจัดการคนเอง และบอกต่อความรู้สู่ชุมชน - ค่าภาพพลิกให้ความรู้ในชุมชนจำนวน 6 ชุด(1ชุด/ชุมชน) ชุดละ 2000 บาท   เป็นเงิน   12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ภาพพลิกเกี่ยวกับการใช้ยาในโรคเรื้อรังประกอบการให้ความรู้ในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ป่วยในคลินิกเติมยาสามารถเป็นต้นแบบการจัดการตนเองในโรคความดันโลหิตที่ถูกต้อง ใช้ยาสมเหตุผล
2.อสม.สามารถติดตามการใช้ยา และดักจับปัญหาการใช้ยาในชุมชนผ่าน line official ได้
3. อสม.สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาในโรคความดันโลหิตสูง


>