กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัส กปท. L5275

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรู้ค่านาทีชีวิต First Aid for Save Life
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
3.
หลักการและเหตุผล

ข้อมูลสถานการณ์และแนวโน้มสุขภาพและการแพทย์ฉุกเฉินจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๕ ระบุว่าสาเหตุการตายของคนไทยจากข้อมูลมรณบัตรในปี พ.ศ.2562 พบว่า สาเหตุการตายที่สำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งทุกชนิด โรคหลอดเลือดสมอง ปอดอักเสบ โรคหัวใจขาดเลือด และอุบัติเหตุจากการคมนาคมขนส่งทางบกตามลำดับ ประกอบกับจากการศึกษาในต่างประเทศ พบว่าผู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลที่ได้รับการช่วยเหลือด้วยการกดหน้าอกโดยผู้พบเหตุจะเพิ่มโอกาสการรอดชีวิต การช่วยเหลือโดยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในผู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้น สามารถลดอัตราการเสียชีวิตลง ร้อยละ 25 ในประเทศกำลังพัฒนาทั้งในชนบทและในเมือง ส่วนผู้บาดเจ็บที่ได้รับการช่วยเหลือโดยบุคลากรทางการแพทย์และระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินมีอัตราการรอดชีวิต ร้อยละ 10 ข้อมูลจากการศึกษาการรอดชีวิตของผู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลที่ได้รับการช่วยเหลือดูแลรักษาโดยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน พบว่าผู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้นที่ได้รับการช่วยเหลือดูแลรักษาโดยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ส่วนใหญ่มีสาเหตุการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ร้อยละ 80 สถิติรับแจ้งเหตุจังหวัดสงขลา จำนวนที่ออกปฏิบัติการ 35,795 ครั้ง (สำนักงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน. 2565) อาการนำ 3 อันดับแรกที่ได้รับแจ้งและออกปฏิบัติการ คือ อุบัติเหตุยานยนต์ จำนวน 9,076 ครั้ง อ่อนเพลีย/อัมพาตเรื้อรัง จำนวน 5,340 ครั้ง และหายใจลำบาก/ติดขัด จำนวน 3,159 ครั้ง ตามลำดับ ส่วนสถิติการให้บริการของหน่วยกู้ชีพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ได้ให้บริการกรณีอุบัติเหตุจราจร จำนวน 186 ครั้ง
เป็นอันดับแรกของการรับแจ้ง และการให้บริการกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน จำนวน 787 ครั้ง ได้แก่การเจ็บป่วยด้วยอาการรับแจ้ง คือ หมดสติ/ไม่ตอบสนอง/หมดสติชั่ววูบ รองลงมา อ่อนเพลีย/อัมพาตเรื้อรัง/ไม่ทราบ ไม่จำเพาะ (จำแนกกลุ่มอาการที่รับแจ้ง Criteria Based Dispatch : CBD code) อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ กำหนดให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่จัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ตามมาตรา ๑๖ (๑๙) เรื่องการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล ประกอบกับพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑ ได้ให้อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทในการบริหารจัดการระบบปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินในระดับพื้นที่ โดยเทศบาลเมืองทุ่งตำเสาได้ดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในนาม “หน่วยกู้ชีพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา” โดยสถิติการให้บริการของหน่วยกู้ชีพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ได้ให้บริการกรณีอุบัติเหตุจราจร จำนวน 186 ครั้ง และการให้บริการกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน จำนวน 787 ครั้ง ได้แก่การเจ็บป่วยด้วยอาการรับแจ้ง คือ หมดสติ/ไม่ตอบสนอง/หมดสติชั่ววูบ รองลงมา อ่อนเพลีย/อัมพาตเรื้อรัง/ไม่ทราบ ไม่จำเพาะ เล็งเห็นความสำคัญในการช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บหรือผู้เกิดภาวะเจ็บป่วยฉับพลัน โดยมีสาเหตุที่สามารถป้องกันได้ก่อนไปถึงภาวะฉุกเฉิน จึงได้จัดทำโครงการโรงพยาบาลครัวเรือน เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการดูสุขภาพก่อนภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน ส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่สามารถดูแลตนเองได้ด้วยการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น เพื่อการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ เพื่อเป็นการป้องกันการเสียชีวิตและการเจ็บป่วยรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นจากองค์ความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานที่ถูกต้อง ซึ่งประชาชนในชุมชนสามารถนำไปใช้กับสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ช่วยเหลือคนในครอบครัวหรือเพื่อนบ้าน หรือเมื่ออยู่ในชุมชนได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมิน ไม่น้อยกว่าสร้อยละ ๘๐ 2. ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการช่วยฟื้น คืนชีพผ่านเกณฑ์การประเมิน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. ๒. เพื่อสื่อสารความรู้ความเข้าใจเรื่องระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแก่ประชาชนในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ๑. ประชาชนมีความรู้เรื่องการใช้บริการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินได้ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. (๑) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน”
    รายละเอียด

    ๑.๑ จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรม ขนาด ๑.๒๒.๔ เมตร ตารางเมตรละ ๑๕๐.-บาท จำนวน ๑ ผืน เพื่อติดตั้ง ณ สถานที่จัดกิจกรรม งบประมาณ ๔๓๒.-บาท ๑.๒ ค่าสมนาคุณวิทยากร (รายละเอียดตามกำหนดการอบรมที่แนบ) 
    - ภาคบรรยาย ๑ ชั่วโมง
    ๑ คน* ๖๐๐ บาท งบประมาณ๖๐๐.-ฉ - ภาคปฏิบัติ ๕ ชั่วโมง๓ คน๖๐๐ บาท งบประมาณ ๙,๐๐๐.-งบประมาณ ๑.๓ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร ผู้สังเกตการณ์และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง (๒๕ บาท๒ มื้อ ๖๐ คน) งบประมาณ ๓,๐๐๐.-งบประมาณ ๑.๔ ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร ผู้สังเกตการณ์และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง (๗๐ บาท๖๐ คน * ๑ มื้อ) งบประมาณ ๔,๒๐๐.-งบประมาณ ๑.๕ ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม เช่น สมุด ปากกา ผ้ายืด ผ้าก็อซ สำลี ฯลฯ งบประมาณ ๓,๐๐๐.-งบประมาณ ๑.๖ ค่าจัดซื้อหุ่นสาธิตการช่วยฟื้นคืนชีพ จำนวน ๒ ชุด (๑๐,๐๐๐ บาท๒ ชุด) งบประมาณ ๒๐,๐๐๐.- ๑.๗ ค่าจัดซื้อกระเป๋าสำหรับใส่อุปกรณ์แก่ผู้เข้ารับการอบรม (๑๕๐ บาท*๕๐ ชุด)  งบประมาณ ๗,๕๐๐.-งบประมาณ ๑.๘ ค่าจัดซื้อกระดาษการ์ดสำหรับจัดทำวุฒิบัตร งบประมาณ ๑,๕๐๐.-งบประมาณ 1.9 ค่าจ้างถ่ายเอกสารสีและเข้าเล่มเอกสารประกอบการอบรม (60 บาท * 50 เล่ม) งบประมาณ ๓,๐๐๐.-งบประมาณ

    งบประมาณ 52,232.00 บาท
  • 2. (๒) กิจกรรมทักษะการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในสถานศึกษา“ยุวกู้ชีพ”
    รายละเอียด

    ๒.๑ ค่าจัดทำสื่อขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ป้ายถือ/Roll Up/Standee ฯลฯ งบประมาณ ๑๐,๐๐๐.- บาท ๒.๒ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (๒๕ บาท * ๓๘๘ คน * ๑ มื้อ) รวม ๙ ครั้ง (๙โรงเรียน) งบประมาณ ๙,๗๐๐.-บาท ๒.๓ ค่าอุปกรณ์สาธิตการปฐมพยาบาล งบประมาณ ๕,๐๐๐.-บาท ๒.๔ ค่าจัดทำชุดสาธิตปฐมพยาบาลในสถานศึกษา (๑,๐๐๐ บาท๙ แห่ง)งบประมาณ ๙,๐๐๐.-บาท ๒.๕ ค่าป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรมในสถานศึกษา ขนาด ๑.๒๒.๔ เมตร ตารางเมตรละ ๑๕๐.-บาท จำนวน ๑ ผืนงบประมาณ ๔๓๒.-บาท

    งบประมาณ 34,132.00 บาท
  • 3. (๓) ผลิตสื่อช่องทางการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินและกลุ่มอาการฉุกเฉินวิกฤตที่ สพฉ.กำหนด
    รายละเอียด

    ๓.๑  จัดทำ Roll Up /Standee  งบประมาณ 4,500.- บาท ๓.๒  ค่าจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 2.4 * 3.6 เมตร ตารางเมตรละ 150.- จำนวน 2 ผืนงบประมาณ2,592.-บาท ๓.๓  ค่ายิงโครงป้ายไวนิลและติดตั้ง งบประมาณ 3,200.-บาท

    งบประมาณ 10,292.00 บาท
  • 4. (๔) กิจกรรมประเมินจุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา
    รายละเอียด

    ๔.1  จัดทำเครื่องหมายสื่อสารความเสี่ยง ณ จุดเสี่ยง จัดทำประกาศและสื่อสารความเสี่ยงให้ประชาชนในพื้นที่ทราบ ขนาด ๑.๒๒.๔ เมตร ตารางเมตรละ ๑๕๐.-บาท จำนวน ๕ ผืน  งบประมาณ ๒,๑๖๐.- บาท
    ๔.2  ค่ายิงโครงป้ายไวนิล ขนาด ๑.๒
    ๒.๔ เมตร ราคา ๙๒.- บาท จำนวน ๕ อัน  งบประมาณ ๔๖๐.- บาท

    งบประมาณ 2,620.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลทุ่งตำเสา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 99,276.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. ผู้เข้าโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ได้อย่างถูกต้อง ๒. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินได้ถูกต้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัส กปท. L5275

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัส กปท. L5275

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 99,276.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................