กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา
3.
หลักการและเหตุผล

การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลเป็นการนำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่การพัฒนาระบบยา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพในระดับพื้นที่ให้มีการใช้ยา อย่างสมเหตุผล สอดคล้องตามแผนแม่บทการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีซึ่งได้กำหนดเป้าหมายคือการมีชุมชน สุขภาพดี การมีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชาชนทุกระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น และประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุข ภาวะสามารถดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพื่อให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล และแก้ปัญหายาในชุมชน ที่ส่งผลต่อการ ใช้ยาอย่างสมเหตุผล อย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยมีเป้าหมาย ให้ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยา ใช้ยาอย่างมี ประสิทธิผล คุ้มค่ามีความรอบรู้ในการใช้ยา และสามารถดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่วย การใช้ยาอย่างไม่มีข้อบ่งชี้, การใช้ยาซ้ำซ้อนหลายขนานมากเกินความจำเป็น และการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาชุดอย่างไม่สมเหตุผล ร้านขายของชำในชุมชนและห้องพยาบาลของโรงเรียนและสถานศึกษาเป็นสถานที่พึ่งของนักเรียนและประชาชนเมื่อเกิดอาการเจ็บป่วยขึ้น ในการรักษาอาการเจ็บป่วยและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา โรงเรียนในความดูแลทั้งหมด จำนวน 8 โรงเรียน โรงเรียนสอนศาสนาจำนวน 10 โรงเรียนจากการตรวจประเมินโรงเรียนพบว่า บางโรงเรียนมีตู้ยาที่ไม่ได้มาตรฐาน การจัดเรียงยายังไม่ถูกต้องไม่มีการจดบันทึกการจ่ายยา โรงเรียนศาสนาบางแห่ง ไม่มีการสำรองยาสามัญประจำบ้านและจากการสำรวจร้านขายของชำในปี 2566 ในชุมชนตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี พบว่าพบสารเคมีไม่ได้ฐานผสมอยู่ในเครื่องสำอางบางประเภท มีการจัดเก็บยาที่ไม่ถูกต้อง และมีการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาชุดในบางร้าน ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและจังหวัดปัตตานีดังสโลแกนที่ว่า “ชาวปัตตานีรอบรู้ เครือข่ายร่วมมือ ใช้ยาปลอดภัยสมเหตุผล” โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันไม่ให้การรับประทานยาที่ถูกต้อง ถูกขนาด และปลอดภัยและเพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของครูอนามัยโรงเรียน ครูโรงเรียนสอนศาสนา และผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ เพื่อให้นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยและมีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อสร้างความปลอดภัยการใช้ยาในโรงเรียนและการจัดการด้านระบบยาที่ถูกต้องและได้มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรอบรู้การใช้ยาอย่างอย่างสมเหตุผล ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อเป็นร้านชำต้นแบบที่ไม่มียาชุด ยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ จำหน่าย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของร้านชำจำหน่ายยาที่มีความถูกต้อง ปลอดภัย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาที่ขายได้ในร้านชำ
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าในเรื่องยาที่ขายได้ในร้านชำ ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้ครูอนามัยโรงเรียน ครูการพยาบาล ของสถานศึกษา
    รายละเอียด

    1.นัดกลุ่มเป้าหมาย ครูอนามัยโรงเรียน จำนวน 8 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 4 แห่งๆละ 2 คน รวมจำนวน 24 คน

    2.ประเมินความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในโรงเรียนการ จ่ายยา ขนาดยาและการสังเกตการแพ้ยา

    3.ให้ความรู้เกี่ยวการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ข้อบ่งชี้ของการใช้ยา หลักการ First exp. First outและการให้ยาทุกชนิดโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย

    4.ฝึกปฏิบัติสถานการณ์สมมติ กรณีเด็กป่วยมารับบริการห้องอนามัยโรงเรียน การให้ยา และการประเมินอาการเด็กเบื้องต้น

    5.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหาที่เจอในการจ่ายยาในโรงเรียน ระหว่างครูและวิทยากรพร้อมทั้งให้คำแนะนำที่ถูกต้องในการจัดการปัญหาเบื้องต้น

    6.ทำแบบทดสอบหลังให้ความรู้ เพื่อประเมินผล

    • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 24 คน เป็นเงิน 1,200 บาท

    • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อ x 35 บาท X 24 คน เป็นเงิน 1,680 บาท

    • เอกสารและอุปกรณ์ประกอบการอบรม 40 บาท X 24 ชุด เป็นเงิน 960 บาท

    • ค่าป้าย RDU ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 3 เมตร ราคา 750บาท X 1ป้าย เป็นเงิน 750 บาท

    • ค่าวิทยากรจำนวน 1 คน 600 บาท X 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท

    • ตู้ยา (มอบให้ รร. และ ศพด.) จำนวน 12 ตู้ x 700 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท

    งบประมาณ 14,790.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ
    รายละเอียด
    1. นัดกลุ่มเป้าหมายตัวแทนผู้ประกอบการร้านชำ จำนวน 26 คน

    2. ประเมินความรู้ ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่านฉลากยา และการจำหน่ายยาตามกฎหมาย

    3. ให้ความรู้เรื่องยาที่ขายได้ในร้านชำ ยาอันตราย ยาสามัญประจำบ้าน โทษของการขายยาอันตราย

    4. ให้ความรู้กฎหมายและโทษของการจำหน่ายยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษ

    5. ประเมินปัญหาที่พบพร้อมทั้งให้คำชี้แนะตัวแทนร้านขายของชำ หาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกัน โดยยึดตามบริบทของพื้นที่เป็นหลัก

    6. ทำแบบทดสอบความรู้และประเมินผล

    • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 26 คน เป็นเงิน 1,300 บาท

    • ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ (เช้า – เย็น) X 35 บาท X 26 คน เป็นเงิน 1,820 บาท

    • เอกสารและอุปกรณ์ประกอบการอบรม 40 บาท X 26 ชุด เป็นเงิน 1,040 บาท

    • ค่าวิทยากร1 ท่าน 600 บาท X 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท

    งบประมาณ 5,960.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 50 คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 18 มิถุนายน 2567 ถึง 19 มิถุนายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

เขตพื้นที่ตำบลบานา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,750.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ครูและเด็กมีความปลอดภัยการใช้ยาในโรงเรียนและได้รับยาที่ปลอดภัยถูกต้องและได้มาตรฐาน

2.ครูมีความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงเรียน (RDU Literacy in school)

3.ครูสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมครั้งนี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้นักเรียนและชุมชน

4.ได้ร้านชำ RDUต้นแบบที่ไม่จำหน่ายยาอันตราย

5.ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องยาที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ในร้านชำ

6.ได้ร้านชำ RDUต้นแบบที่ไม่จำหน่ายยาอันตราย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,750.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................