กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา ด้วยยาสมุนไพร
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา
3.
หลักการและเหตุผล

โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในเด็กนักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน ติดต่อจากการสัมผัสใกล้ชิดกับคนที่เป็น หรือติดจากสัตว์เลี้ยงเป็นต้น เหาจะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหารในน้ำลายของเหามีสารที่ระคายเคืองผิวได้ ทำให้เกิดตุ่มคันตรงรอยกัด โดยที่เหาเกิดจากเชื้อปรสิต ชื่อวิทยาศาสตร์เรียกว่า Pediculus humanus ซึ่งอาศัยอยู่บนหนังศีรษะ เส้นผม ขน ปรสิตชนิดนี้จะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหาร และวางไข่บนเส้นเลือด โดยหลั่งสารไคตินหุ้มปลายหนึ่งของไข่ ให้เกาะติดแน่นอยู่ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เด็กเป็นเหาจะมีอาการคันมากและเกาจนหนังศีรษะถลอก เกิดเป็นการอักเสบ หนอง สะเก็ดแห้งกรัง และเป็นแผลติดเชื้อแบคทีเรียได้ บางรายอาจมีอาการรุนแรงทำให้ผมร่วงได้ ทำให้เด็กเสียสมาธิในการเรียน และยังทำให้สุขภาพไม่ดี ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น

ปีงบประมาณ 2566 จากการตรวจสุขภาพเด็กนักเรียน (ระดับประถมศึกษา) พร้อมกับทีมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน มีโรงเรียนในตำบลบานาทั้งหมด 7 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนดารุลบารอกะฮฺ โรงเรียนบานา โรงเรียนกูวิง โรงเรียนจือโระ โรงเรียนยูโย โรงเรียนเมืองปัตตานี และโรงเรียนปัญญาวิทย์ พบว่า โรงเรียนบ้านกูวิง , โรงเรียนบ้านบานา ,และโรงเรียนบ้านจือโระ มีเด็กนักเรียนที่มีโรคเหา คิดเป็นร้อยละ 72.97 , 72.09 และ 70.58 ตามลำดับ

ด้วยเหตุนี้ คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จึงได้จัดทำการศึกษาค้นคว้าสมุนไพรภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่า ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็กและลูกมะกรูด มีสรรพคุณกำจัดเหาได้ดีมาก โดยไม่เป็นอันตรายและไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ อีกทั้งยังสามารถรักษาเด็กที่เป็นเหา ป้องกันโรคเหา และลดการระบาดของโรคต่อไป

สถิตินักเรียนในโรงเรียนเขตตำบลบานาได้รับการตรวจสุขภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2566 โรงเรียนบ้านกูวิง มีจำนวนนักเรียนหญิง 37 คน มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 27 คน คิดเป็นร้อยละ 72.97 โรงเรียนบ้านบานา มีจำนวนนักเรียนหญิง 43 คน มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 31 คน คิดเป็นร้อยละ 72.09 และโรงเรียนบ้านจือโระ มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 27 คน คิดเป็นร้อยละ 72.97 โรงเรียนบ้านบานา มีจำนวนนักเรียนหญิง 51 คน มีจำนวนนักเรียนหญิงที่เป็นเหา 36 คน คิดเป็นร้อยละ 70.58

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของนักเรียนที่เป็นโรคเหาได้รับการกำจัดเหาและหายการการเป็นเหา
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้เด็ก นักเรียน มีสุขภาพที่ดีป้องกันไม่ให้เกิดโรคเหาในนักเรียนรายใหม่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนรายใหม่ไม่เป็นโรคเหา
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อเสริมสร้างใช้ภูมิปัญญา (สมุนไพรพื้นบ้าน)ในการกำจัดเหาแทนการใช้ยาแผนปัจจุบัน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้าโครงการสามารถใช้สมุนไพรพื้นบ้านทดแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมคัดกรอง,ให้สุขศึกษา,สาธิตทำสมุนไพรกำจัดเหาเชิงปฏิบัติการ
    รายละเอียด

    ดำเนินการทั้งหมด 3 รุ่น (3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านกูวิง , โรงเรียนบ้านบานา , โรงเรียนบ้านจือโระ)

    1. ให้ความรู้แก่นักเรียนและครูในโรงเรียนในการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะ ที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดของโรคเหาต่อไป

    2. สาธิตการทำสมุนไพรกำจัดเหา

    3. ตรวจสุขภาพเพื่อค้นหา นักเรียนที่เป็นโรคเหา และสอบถามพฤติกรรมการเป็นเหา

    4. หมักเหานักเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรฆ่าเหา

    • ค่าเอกสารประกอบการอบรมให้ความรู้ จำนวน 137 ชุด X 40 บาท เป็นเงิน 5,480 บาท

    • ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1x3 เมตร จำนวน1 ผืน x 750 บาท เป็นเงิน 750 บาท

    • ค่าวัสดุอุปกรณ์สมุนไพรกำจัดเหา(เอกสารแนบท้าย) เป็นเงิน 16,245 บาท

    • ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าที่ 50 บาท X 5 คน x 3 ครั้ง เป็นเงิน 750 บาท

    • โรงเรียนบ้านกูวิง

    • ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 49 คน X 2 มื้อ เป็นเงิน 4,130 บาท (นักเรียน 42 คน +ครู 2 คน + จนท.จัดอบรม 5 คน รวม 49คน )

    • โรงเรียนบ้านบานา

    • ค่าอาหารว่าง 35 บาท 54 คน X 2 มื้อ เป็นเงิน 3,780 บาท (นักเรียน 47 คน + ครู 2 คน + จนท.จัดอบรม 5 คน รวม 54คน )

    • โรงเรียนบ้านจือโระ

    • ค่าอาหารว่าง 35 บาท 55 คน X 2 มื้อ เป็นเงิน 3,850 บาท (นักเรียน 48 คน +ครู 2 คน + จนท.จัดอบรม 5 คน รวม 55 คน )
    งบประมาณ 34,985.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ ติดตาม นักเรียนวัยใสไร้เหา
    รายละเอียด
    1. ประชุมติดตามร่วมกับครูประจำชั้นและครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน ดูแล ติดตาม พฤติกรรมการรักษาความสะอาดอย่าง จำนวน 3 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านกูวิง โรงเรียนบ้านบานา โรงเรียนบ้านจือโระ)

    2. ตรวจสุขภาพนักเรียน กลุ่มเป้าหมายหลังดำเนินการ

    3. สรุปผลการดำเนินการ

    • ค่าอาหารว่างเจ้าหน้าที่ 35 บาท X 5 คน X 3 ครั้ง เป็นเงิน 525 บาท
    งบประมาณ 525.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน 137 คน

การป้องกันและลดปัญหาโรคเหา

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 10 มิถุนายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลบานา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 35,510.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.นักเรียนมีความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติที่บ้านได้ และสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเองได้อย่างถูกต้อง

2.จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหาภายในโรงเรียนลดลง

3.ไม่เกิดโรคเหาในนักเรียนรายใหม่

4.นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น มีบุคลิกภาพดีขึ้น

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 35,510.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................