กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข..ต.ควนสตอ..อ.ควนโดน จ.สตูล

1…นายอาหมาด..หหมาดหาบ..............................………
2…นางสาวฝาตีม๊ะ…หลีเส็น................................……
3…นางรัศหนา…ปะดุกา…...………………………
4…นางอาซียะห์…บิสลีมีน……………….….……………..
5…นางสาวฮอเดียะ…โสะตรา.

ตำบลควนสตอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การมีสุขภาพที่ดีเป็นความพึงประสงค์ของเราทุกคน แต่จากพัฒนาการด้านต่าง ๆในยุคปัจจุบันส่งผลให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมาก ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลในทางที่ดี แต่ในทางกลับกันก็จะเกิดผลกระทบตามมาในหลาย ๆ ด้าน เช่นเดียวกัน ซึ่งผลกระทบเหล่านี้ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านสภาพอากาศ มลพิษทางน้ำรวมทั้งสิ่งอุปโภคบริโภคที่การปนเปื้อนซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลกระทบทั้งในระยะสั้นและระยะยาวด้านสุขภาพมีปัญหาสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
ควนสตอเป็นพื้นที่ที่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่องซึ่งที่ผ่านมาหลายภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทในการดำเนินงาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและให้ความสำคัญกับส่งเสริมสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่กับครอบครัวและชุมชนอย่างปกติสุขและมีสิ่งแวดล้อมที่ดี จึงได้จัดทำ”โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมดีชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567”ขึ้น เพื่อส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยเริ่มต้นจากครัวเรือน และขยายไปสู่ชุมชนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน 2. เพื่อชุมชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง 3.เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของครัวเรือนเป้าหมายเข้ากิจกรรมในโครงการ

ร้อยละ 10 ของหลังคาเรือนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน

ร้อยละ 10 ของครัวเรือนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567

ชื่อกิจกรรม
โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1  จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าบ้านที่เข้าร่วมโครงการ     1.1  ค่าจัดทำป้ายโครงการ  = 450 บาท 1.2 ประชุมชี้แจง รุ่นที่ 1 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 10 และหมู่ที่ 7 จำนวน  80 คน    (อสม. 37 คน เจ้าบ้าน 37 คน คณะทำงาน 6 คน) - ค่าอาหารกลางวันประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มและคณะทำงาน60บ. x 80 คน=4,800 บาท - ค่าอาหารว่าง 30 บ. x 2 มื้อ x  80 คน = 4,800 บาท - ค่าวิทยากร 400 บ. x 3 ชม.   = 1,200 บาท - ค่าจัดทำป้ายโครงการ = 450 บาท               รวมทั้งสิ้น 11,250 บาท


ชนิดกิจกรรม งบประมาณ     รุ่นที่ 2 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 9 จำนวน 82  คน (อสม. 38 คน เจ้าบ้าน 38 คน คณะทำงาน 6 คน)
- ค่าอาหารกลางวันประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มและคณะทำงาน60บ. x 82 คน=4,920 บาท - ค่าอาหารว่าง 30 บ. x 2 มื้อ x  82 คน = 4,920 บาท - ค่าวิทยากร 400 บ. x 3 ชม.   = 1,200 บาท รวมทั้งสิ้น 11,040 บาท ได้แก่
รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่ 1 ทั้งสิ้น 22,290 บาท (ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายแทนกันได้)

  1. การติดตามประเมินกิจกรรมตามหลังคาเรือนที่เข้าร่วมโครงการ และคืนข้อมูลให้กับชุมชน  *ติดตามประเมิน

- ค่าอาหารกลางวัน 60 บาทx16คนx 2วัน=1,920 บาท - ค่าอาหารว่าง 30บ.x2 มื้อx16คนx2วัน  = 1,920 บาท     รวมทั้งสิ้น 3,840 บาท * คืนข้อมูลให้กับชุมชน (อสม. 30 คน ผู้นำ 10 คน เจ้าบ้าน 18 คน คณะทำงาน 7 คน) - ค่าอาหารว่าง 30 บ. x 65 คน = 1,860 บาท
รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่ 2 ทั้งสิ้น 5,700 บาท (ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายแทนกันได้)

3 สรุปผลและรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
    รวม...............27,990.....................บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1  จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าบ้านที่เข้าร่วมโครงการ     1.1  ค่าจัดทำป้ายโครงการ  = 450 บาท 1.2 ประชุมชี้แจง รุ่นที่ 1 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 10 และหมู่ที่ 7 จำนวน  80 คน    (อสม. 37 คน เจ้าบ้าน 37 คน คณะทำงาน 6 คน) - ค่าอาหารกลางวันประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มและคณะทำงาน60บ. x 80 คน=4,800 บาท - ค่าอาหารว่าง 30 บ. x 2 มื้อ x  80 คน = 4,800 บาท - ค่าวิทยากร 400 บ. x 3 ชม.   = 1,200 บาท - ค่าจัดทำป้ายโครงการ = 450 บาท               รวมทั้งสิ้น 11,250 บาท


ชนิดกิจกรรม งบประมาณ     รุ่นที่ 2 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 9 จำนวน 82  คน (อสม. 38 คน เจ้าบ้าน 38 คน คณะทำงาน 6 คน)
- ค่าอาหารกลางวันประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มและคณะทำงาน60บ. x 82 คน=4,920 บาท - ค่าอาหารว่าง 30 บ. x 2 มื้อ x  82 คน = 4,920 บาท - ค่าวิทยากร 400 บ. x 3 ชม.   = 1,200 บาท รวมทั้งสิ้น 11,040 บาท ได้แก่
รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่ 1 ทั้งสิ้น 22,290 บาท (ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายแทนกันได้)

  1. การติดตามประเมินกิจกรรมตามหลังคาเรือนที่เข้าร่วมโครงการ และคืนข้อมูลให้กับชุมชน  *ติดตามประเมิน

- ค่าอาหารกลางวัน 60 บาทx16คนx 2วัน=1,920 บาท - ค่าอาหารว่าง 30บ.x2 มื้อx16คนx2วัน  = 1,920 บาท     รวมทั้งสิ้น 3,840 บาท * คืนข้อมูลให้กับชุมชน (อสม. 30 คน ผู้นำ 10 คน เจ้าบ้าน 18 คน คณะทำงาน 7 คน) - ค่าอาหารว่าง 30 บ. x 65 คน = 1,860 บาท
รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่ 2 ทั้งสิ้น 5,700 บาท (ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายแทนกันได้)

3 สรุปผลและรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
    รวม...............27,990.....................บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27990.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,990.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
2. ชุมชนให้ความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง


>