กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด อบต.ละงู
กลุ่มคน
1.นางอัปสร สุติกโทร0827318801
2.นางสาวิตรี โอมเพียรโทร0846822868
3.นางสาวจรรยาติงหวังโทร 0629735181
4.นางสาววิชชุดาลาเย็นโทร 0824387764
5.นางสาวเจ๊ะมารีย๊ะโดงกูลโทร0896584561
3.
หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบันปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยาน และจักรยานยนต์ การเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีวินัยและสวมหมวกนิรภัย จึงเป็นวิธีการสำคัญ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีเขตพื้นที่บริการ คือม.3, ม.5, ม.9, ม.10,ม.11, ม.13, และ ม.16 เด็กในปีการศึกษา 2567 มีจำนวน 145 คน เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ตั้ง ด้านหน้าติดถนนใหญ่สายหลัก (ถนนละงู - ฉลุง)ซึ่งมีรถวิ่งตลอดเวลา เส้นทางการมารับส่งเด็กส่วนใหญ่เป็นถนนซอยและเส้นทางถนนใหญ่สายหลัก จากการสังเกตอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากรถจักรยานยนต์ในศพด.บ้านคลองขุดพบว่าผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.56 % โดยไม่มีการสวมหมวกนิรภัยจากการรับ- ส่ง ด้วยรถจักรยานยนต์ของผู้ปกครองที่ไม่ได้สวมหมวกนิรภัยระหว่างเดินทาง ซึ่งมีอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยสะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝันและเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลาย ๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตร หลาน สวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์การรับส่งเด็กส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะใช้รถจักรยานยนต์ส่วนตัวในการมารับส่งเด็ก และมีส่วนน้อยที่สวมใส่หมวกนิรภัยในการมารับส่งเด็กหรือในการเดินทางไปที่ต่างๆ ด้วยพฤติกรรมนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร และพฤติกรรมการขับขี่ที่ประมาท ขาดความระมัดระวัง ชะล่าใจ ขับขี่ด้วยความเร็ว การฝ่าสัญญาณไฟ การขับขี่ในช่องจราจรที่ไม่ถูกต้องการเปลี่ยนช่องทางจราจรโดยไม่เปิดสัญญาณไฟ เนื่องจากอาจเข้าใจว่าเป็นพื้นที่ที่การจราจรไม่หนาแน่น ดังนั้น เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นอาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บที่รุนแรงถึงแก่ชีวิต ในการเพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวม หมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด เล็งเห็นความสำคัญของอุบัติเหตุจากพฤติกรรมไม่สวมหมวกนิรภัย ที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็กและผู้ปกครอง ที่สร้างความสูญเสียในเรื่องต่างๆที่กล่าวมาแล้วนั้น จึงได้จัดทำโครงการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดนี้ขึ้นเพื่อเป็นการสร้างความตระหนักในการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย ปลูกฝังวินัยจราจรความปลอดภัยบนท้องถนนให้กับเด็กๆในศูนย์ฯ โดยเน้นให้เด็กๆ เป็นศูนย์กลาง ส่วนครูและผู้ปกครองจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและให้ความรู้ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กๆ ได้เดินทางไป - กลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างปลอดภัย และหวังจะลดจำนวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตของทุกคนจากอุบัติเหตุทางถนน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร
    ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครองและเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ร้อยละ80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย มีวินัยจราจร
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง(ไม่สวมใส่หมวกกันน็อค)ของครู ผู้ปกครอง และเด็กขณะขับรถจักรยานยนต์
    ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครองและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ร้อยละ100 สวมหมวกกันน็อค ขับขี่ปลอดภัย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงานจำนวน 3 ครั้ง
    รายละเอียด

    ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ
    ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม
    ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 เพื่อสรุปผลดำเนินโครงการ
    งบประมาณ
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 10 คนๆละ25 บาท 3 ครั้งเป็นเงิน 750 บาท
    - ค่าวัสดุอุปกรณ์ 300 บาท (ปากกา สมุด กระดาษบรูฟ)
    รวมค่าใช้จ่าย 1,050 บาท

    งบประมาณ 1,050.00 บาท
  • 2. สำรวจการสวมหมวกนิรภัยสำรวจยานยานพาหนะของผู้ปกครองสำรวจเส้นทางการเดินรถ
    รายละเอียด

    สำรวจสถานการณ์การสวมหมวกนิรภัยสำรวจยานยานพาหนะของผู้ปกครองสำรวจเส้นทางการเดินรถ
    - ค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่ากระดาษ ปากกา 360 บาท รวม 360 บาท

    งบประมาณ 360.00 บาท
  • 3. คืนข้อมูล/อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการไม่สวมหมวกนิรภัย/วางมาตรการร่วมเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยด้วยการสวมหมวกนิรภัย
    รายละเอียด

    วันที่1 (เช้า)1 3.1 อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการไม่สวมหมวกนิรภัยเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์และวางมาตรการณ์ร่วมตลอดจนสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการสวมหมวกนิรภัยให้กับผู้ปกครอง โดยจัดทำบันทึกข้อตกลงระหว่างครูศพดกับผู้ปกครองเด็ก ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกอบต อสม ผู้นำศาสนา เรื่องการสวมใส่หมวกกันน็อด 100 % และ- ติดป้ายประกาศข้อตกลงที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รายละเอียดค่าใช้จ่าย - ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน3 ชม.x ชม.600 = 1800 บาท - ค่าป้าย/ป้ายไวนิลโครงการ 1 แผ่น/ผืน เมตรละ 150 บาทขนาด 1.2 x 2.4 เมตร = 432 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน1 มื้อ มื้อละ 60 บาท x 145 =8,700 บาท - ค่าอาหารและเครื่องดื่ม (เช้า-บ่าย) มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ=7250 บาท - ค่าอุปกรณ์เอกสารอบรมชุดละ 30 x 145 = 4350 บาท - ค่าปากกา145 x 5 = 725 บาท - ป้ายติดประกาศอคลิลิคพร้อมใส่กรอบ ขนาด 60 ซม. X 120 ซม. เป็นเงิน 1,800 บาท รวม 23,257บาท วันที่1 (บ่าย) 1.3.1 รณรงค์สวมหมวกกันน็อค ขับขี่ปลอดภัย 100 %
    จัดทำบันทึกข้อตกลงระหว่างครูศพดกับผู้ปกครองเด็กเรื่องการสวมใส่หมวกกันน็อด 100 % ขณะรับ-ส่งเด็กที่ศพด โดยมีคณะครูบันทึกภาพทุกวัน
    งบประมาณ - ค่าจัดซื้ออุปกรณ์สาธิต หมวกนิรภัยแก่เด็กปฐมวัยในศพด. 200 x 145 = 29,000 บาท

    งบประมาณ 52,257.00 บาท
  • 4. ปรับภูมิทัศน์จุดเสี่ยงลดอุบัติเหตุเส้นทางการเดินรถของศพด.
    รายละเอียด

    ปรับจุดเสี่ยงอันตรายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(ท้องที่ ท้องถิ่นชุมชนและศพด.) ช่วงเวลาเช้าและเย็นจะต้องมีการปรับเพื่อลดความเสี่ยงในช่วงเวลาที่เร่งด่วนโดยให้ชรบ.ประจำ หมู่บ้าน ม.9 ตั้งกรวยจราจรเพื่อลดความเสี่ยง
    - รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    กรวยจราจร ขนาดสูง 70 ซม. ราคา 250 บาทจำนวน15 อัน เป็นเงิน 3,750 บาท

    งบประมาณ 3,750.00 บาท
  • 5. ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการโครงการ
    รายละเอียด

    -แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนงานต่อไป
    -สรุปจุดเสี่ยงต่างๆในเส้นทางจากบ้าน-มายังศพด. -ปัญหา-อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ -จัดกิจกรรมมอบเกียรติบัตรให้แก่เด็กและผู้ปกครองที่ขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มารับ-ส่งเด็กที่ศพด รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    - ค่าอาหารและเครื่องดื่ม (เช้า-บ่าย) มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ=7250 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน1 มื้อ มื้อละ 60 บาทx 145 =8700 บาท

    งบประมาณ 15,950.00 บาท
  • 6. การให้ความรู้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเรื่องวินัยจราจร
    รายละเอียด

    วันที่ 2 3.2 ให้ความรู้เรื่องสัญลักษณ์การจราจร/อันตรายจากการไม่สวมหมวกนิรภัยแก่เด็กนักเรียนทุกวันก่อนเลิกเรียนวันละ 30 นาที งบประมาณ - ชุดป้ายจราจร จำนวน 1 ชุด x 8000 = 8000บาท - จักรยานเด็ก จำนวน 3 คัน x 1500 = 4500 บาท - ค่ากรวยจราจรขนาด 10 นิ้ว จำนวน 12 อัน x 100 = 1200 บาท
    รวม 13700 บาท

    งบประมาณ 13,700.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 87,067.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันอุบัติเหตุใช้เส้นทางจราจร เกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย 2..ครู ผู้ปกครองและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ร้อยละ 100 ขับขี่ปลอดภัย และสวมหมวกนิรภัย 3.เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับหมู่บ้าน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 87,067.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................